Page 17 -
P. 17

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                     4


                                    “…ลอจิสติกสเปนคําที่ใชอยูในวงการของผูผลิตและผูประกอบการคา ซึ่ง

                                    หมายถึงกิจกรรมตาง  ๆ    ที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนยายสินคาจากโรงงาน
                                    ไปสูผูบริโภคอยางมีประสิทธิภาพ และในบางกรณีมีความหมายรวมไปถึง

                                    การเคลื่อนยายวัตถุจากแหลงตางๆมาสูโรงงาน    กิจกรรมดานลอจิสติกส

                                    ประกอบไปดวยการขนสงสินคา การคลังสินคา   การจัดการวัสดุอุปกรณที่
                                    เกี่ยวของกับการขนสง การถายเท   และการเก็บรักษาสินคา    การจัดการ

                                    เกี่ยวกับสินคาคงเหลือ     การเลือกที่ตั้งโรงงานและคลังสินคา การบรรจุ
                                    ภัณฑเพื่อมิใหสินคาไดรับความเสียหายจากา ร  ขนสง การขนถาย การเก็บ
                                    รักษาสินคา การดําเนินคําสั่งซื้อ การพยากรณตลาด และการใหบริการ

                                    ลูกคา…”

                          จากคําจํากัดความนี้จะเห็นวาลอจิสติกสเปนเรื่องเกี่ยวกับการบริการลูก คา การขนสง การ
                   คลังสินคาและการเก็บรักษา การตั้งโรงงาน และการเลือกทําเลที่ตั้งคลังสินคา การควบคุมสินคา

                   คงเหลือ กระบวนการสั่งซื้อ การติดตอสื่อสารในการกระจายสินคา การจัดหา การถือครองวัตถุดิบ

                   การสนับสนุนดานการบริการ การเสี่ยงภัย การชวยทรัพยสินใหพนภัยแ ละการจัดการชิ้นสวนเหลือ
                   ใช การบรรจุภัณฑ การรับคืนสินคาและการพยากรณความตองการ  (ภาพ 1-1 ความหมายและการ

                   จัดการลอจิสติกส

                          ราชบัณฑิตยสภา  (2550) ระบบลอจิสติกส แปลวา  “ระบบเครือขายการจัดสงสินคาและ

                   พัสดุ” (การขับเคลื่อนยุทธศาสตรลอจิสติกส)


                          มีบางทานโตแย งวา ลอจิสติกสมีความสําคัญตอธุรกิจอุตสาหกรรมเทานั้น ซึ่งไมถูกตอง
                   ลอจิสติกสเปนสวนประกอบที่สําคัญของการดําเนินการขององคกรทั้งหมด ในชองทางลอจิสติกส

                   ไมวาจะเปนพอคาปลีก พอคาสง แล ะผูรับชวงใหบริการ  (Service  Provider)  รวมถึงองคกรที่ไม

                   แสวงหากําไรดวย สวนประกอบของการจัดการลอจิสติกสจะประกอบดวย 3 สวนใหญๆ ไดแก
                                 1. ปจจัยนําเขาลอจิสติกส(Inputs) ไดแกทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources)

                   ทรัพยากรมนุษย (Human  Resources)  และทรัพยากรดานการเงิน  (Financial  Resources)  และการ

                   ทรัพยากรดานขอมูล (Information Resources) ในรูปของวัตถุดิบ (Raw Materials) งานระหวางทํา
                   (In-Process Inventory ) และสินคาสําเร็จรูป ( Finished Goods )

                                 2.  กระบวนการการจัดการ ( Management Action )  เปนกิจกรรมที่ประกอบไป

                   ดวยการวางแผน  (Planning) การปฏิบัติการ  (Implementation) และการควบคุม  (Control ) เพื่อให
                   ผูขายสินคา (Supplier) หรือผูเรขาย  ( Vendors) สามารถนําปจจัยที่ใชในการจัดการ ที่เปนวัตถุดิบ

                   งานระหวางทํา สินคาสําเร็จรูปมาขายใหแกลูกคาได

                                 3. ผลผลิตของการจัดการ  (Output  of  Logistics)    ที่ไดรับประกอบดวย
                   แนวความคิดทางการตลาด  (Marketing  Oriented)  ที่เกี่ยวของกับความไดเปรียบในเชิงแขงขัน
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22