Page 140 -
P. 140

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                   127



                          การตัดสินใจเลือกกิจกรรมแตละอยาง เรียกวาเปนการตัดสินใจเชิงกลยุทธ   (Strategic

                   Decisions) ซึ่งตองวิเคราะหถึงการเปลี่ยนแปลงของตนทุน /ในแตละกิจกรรม โดยตั้งอยูบนพื้นฐาน
                   การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการ (Operating Decisions Making) 2 ประการ ไดแก

                                 1.  การดําเนินการนั้นตองควบคุมได  และมีความสามารถในการทํากําไรตามที่

                   คาดหวังไวไดอยางสม่ําเสมอ
                                 2.  ตนทุนที่เปลี่ยนแปลงไปในการดําเนินการในแตละทางเลือกนั้นตองตรวจสอบได

                          ระบบการสั่งซื้อแบบกาวหนาเปนเรื่องของความสาม ารถในการสรางความแข็งแ กรงของ

                   ขอมูลขาวสาร (Wealth of  Information) ใหแกแผนกตางๆ ในองคกร ปลายทางของการยอมรับใน

                   ขอมูลอยูที่ลอจิสติกส  การผลิต  การขาย /การตลาด  ระบบสามารถจัดทํารายงานอันหลากหลายได
                   อยางกวางขวางจากพื้นฐาน   ตารางปกติ และรายงานเฉพาะการรองขอของแตละหนวยงาน เชน

                   การสั่งซื้อของลูกคาสถานภาพของคําสั่งซื้อ ตําแหนงของตลาดและ สินคาคงคลัง


                   การออกแบบระบบขอมูลขาวสาร

                   (Designing the Information System)

                          การออกแบบของขอมูลขาวสารของลอจิสติกส เริ่มจาก

                                 1.  การแสวงหาความตองการของลูกคา

                                 2.  การแสวงหามาตรฐานการตัดสินใจของลูกคา
                                 3.  การจับคูความส ามารถในการตอบสนองความตองการของลูกคากับความ

                   ตองการของลูกคา

                                 4.  การปรับปรุงหนาที่ลอจิสติกสเชิงกลยุทธและเชิงดําเนินการดวยกิจกรรม
                   ลอจิสติกส 5 กิจกรรมหลัก คือ การบริการลูกคา การขนสง การคลังสินคา กระบวนการสั่งซื้อ และ

                   สินคาคงคลัง

                                 5.  สํารวจขอมูลที่เปลี่ยนแปลงเพื่อตัดสินใจวา ตองเปลี่ยนแปลงอะไรบาง

                                 6.   สรางฐานขอมูล ออกแบบรายงานการจัดการโดยพิจารณาตนทุนกําไรของแต
                   ละทางเลือก



                          การออกแบบระบบที่ดีจะสนับสนุนลอจิสติกสในการอธิบายและกอใหเกิดสมรรถภาพใน
                   การเคลื่อนยายขอมูลไดดวย

                          จากตาราง  6-2 จะเห็นวากิจก รรมหลัก 5 กิจกรรมไดแกการบริการลูกคา การขนสง การ

                   คลังสินคา กระบวนการสั่งซื้อ และสินคาคงคลังนั้น มีวิธีการออกแบบขอมูลขาวสารของลอจิสติกส
                   แตกตางกันตามเกณฑเชิงกลยุทธและเชิงดําเนินงาน กลาวคือ การออกแบบระบบขอมูลขาวสารจะ
   135   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145