Page 135 -
P. 135

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                   122



                                 1. ระบบเจาของ (Prosprietary System)   เปนระบบที่รูจักกันดีในชื่อวาระบบ

                   หนึ่งสูจํานวนมาก (One-to-Many  Systems)  เพราะเปนระบบที่มีเจาของ การจัดการ และการซอม
                   โดยบริษัทเดียว (Owned Managed and Maintained) บริษัทที่จะซื้อจะติดตอโดยตรงกับผูเสนอขาย

                   สินคาจํานวนมาก สถานการณในการทํางานที่ดีที่สุด  เกิดแกบริษัทผูเปนเจาของไดก็ตอเมื่อ เปน

                   ธุรกิจขนาดใหญและมีอํานาจของการตอรองมาตรฐาน  และสามารถจะแนะนําใหผูเสนอขายสินคา

                   รายใหญๆ กลับกลายเปนเพียงสวนหนึ่งของขายงานเทานั้น

                           ประโยชนของระบบนี้คือ การควบคุมโดยตรงของผูผลิต สวนผลเสียที่เกิดขึ้นอาจจะเปน

                   เรื่องในการติดตั้งและบํารุงรักษาภายใน  และผูเ สนอขายสินคาอาจจะไมตองการเปนสวนหนึ่งของ

                   ระบบ  เพราะตองการความเปนเอกเทศ (ภาพ 6-4)


                                                                ผูเสนอขายสินคา 1

                        ผูผลิต
                                                                ผูเสนอขายสินคา 3



                                                                ผูเสนอขายสินคา 2

                          ภาพที่ 6-4  ระบบเจาของ



                                 2. ระบบ แวนส  (Value-Added Networks : VANs) เปนที่รูจักกันดีวาระบบมากสู

                   มาก (Many-to-Many Systems) หรือระบบขายงานมูลคาเพิ่ม  หรื อขายงานของบุคคลที่สาม (Third-
                   party Networks)  เปนระบบที่ไดรับความนิยมมาก ซึ่งทั้งหมดของอีดีไอ จะสงผานและเปลี่ยน

                   (Transmission)  สูองคกรของบุคคลที่สาม ซึ่งจะปฏิบัติหนาที่เปนศูนยกลางการแลกเปลี่ยนขอมูล

                   (Central Clearinghouse) เชน ลูกคาคนหนึ่งสงใบสั่งซื้อจํานวนหนึ่ง สูผูเสนอขายสินคาหลายรายได
                   โดยอาศัยแบบ แวนส ซึ่งระบบแวนสจะเลือกคําสั่งซื้อใหตรงกับผูเสนอขายสินคาจะสงผานไปใหผู

                   เสนอขายสินคารายนั้นๆ ความหมายที่แทจริงของ  “มูลคาเพิ่ม (Value Added)”  จะเกิดขึ้นเมื่อผูซื้อ

                   และผูเสนอขายใชการติดตอสื่อสารที่ “มองไมเห็น  ( Invisible)”  ในขณะที่ผูใชไมมีความตองการที่
                   จะเปนสวนใดสวนหนึ่งของระบบของอีกฝายหนึ่ง ซึ่งถือวาจุดนี้กอใหเกิดประโยชนอยางมาก

                          นอกจากนั้น  ผูใชไมมีความชํานาญในมาตรฐานและสาระสําคัญของอีดีไอ ระบบแวนส

                   จํานวนมากจะจัดใหมีระบบหมุนกลับ และการออกจากระบบ (Turnkey off-the Shelf Systems) ซึ่ง

                   เสียคาใชจายต่ํากวาในการเริ่มตน และลดระยะเวลาการรอคอยการเริ่มตน  (Lower Start-Up Costs
                   and Reduce Start-Up Lead Time)
   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140