Page 143 -
P. 143

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

                                                                                                   130



                          ตามปกติฐานขอมูลจะเก็บไวในไฟลขอมูลคอมพิวเตอร  เชน  ระบบการจายคาระวาง

                   ประวัติการขนสง สถานภาพของสินคาคงคลัง การสั่งซื้อแบบเปด  (Open Orders) การลบคําสั่งซื้อ
                   ออก ตนทุนมาตรฐานของกิจกรรมลอจิสติกส  การตลาด การผลิต ระบบขอมูล       ขาวสารดวย

                   คอมพิวเตอรตองสามารถที่จะดําเนินการขอมูลเชิงผสมผสาน ดังตอไปนี้ได คือ

                                 1.  การกลับคืนมาของขอมูล (Data Retrieval) เปนความสามารถในการเรียกขอมูล
                   ออกมาดวยความรวดเร็วและงายดาย

                                 2.   การประมวลผลขอมูล (Data Processing) เปนการแลกเปลี่ยนขอมูลเพื่อใหเกิด

                   รูปแบบใหมที่มีประโยชนมากขึ้นดวยความสัมพันธแบบงายและการแป รผันไปขางหนาอยางตรงๆ

                   (Straightforward Conversion  )  เชน การเตรียมโครงสรางของการหยิบสินคาบนชั้นสินคาในคลัง
                   สินคา  การเตรียมใบตราสงสินคา และการพิมพคําสั่งซื้อ

                                 3.  การวิเคราะห ขอมูล (Data Analysis)    เปนการนําเอาขอมูลจากคําสั่งซื้อมา

                   ตัดสินใจเชิงกลยุทธและการดําเนินการโดยวิธีการทางคณิตศาสตรและสถิติ  เชน
                                          3.1 วิธีวิเคราะหเชิงเสน (Linear Programming)  ถือวาเปนที่ยอมรับกัน

                   อยางกวางขวางมากและใชเปนเครื่องมือการวางแผนเชิงกลยุทธและก ารดําเนินการในการจัดการ

                   เพื่อการกระจายสินตัวคา  เปนเทคนิคที่เหมาะสมกับสมมุติฐานที่หลากหลายสูขอจํากัดที่ระบุได

                   ดวยการจัดการ
                                          3.2 วิธีซิมมูเลชั่น (Simulation)  เปนเทคนิคที่ใชรูปแบบจําลองของ

                   สถานการณที่การจัดการสามารถตัดสินใจ ถึงการเปลี่ยนแปลงของระบบในการเลือกใชกลยุทธแต

                   ละอยาง  เปนรูปแบบจําลองที่ถูกใชทดสอบขอเท็จจริงที่  ทราบแลว  ถึงแมวาซิม มูเลชั่น ไมใช
                   สมมุติฐานที่เหมาะสมที่สุด เทคนิคนี้ก็ไดรับการยอมรับวาใหความพึงพอใจจากชวงของทางเลือก

                   ได   จํานวนแบบจําลองซิมเลชั่นไดรับการยอมรับสําหรับการจัดซื้อ

                                 4.  การจัดทํารายงาน  (Report Generation)  เปนการรายงานซึ่งอาจจะรวมการ
                   วิเคราะหขอมูลดวยแบบจําลองคณิตศาสตร และสถิติ และตนทุนการกระจายสินตัวคา

                   บริษัทที่ใชระบบขอมูลขาวสารแบบผสมผสาน ในการจัดการการกระจายสินตัวคาไดแก บริษัท ฟริ

                   โต-เลย (Frito-Lay)
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148