Page 158 -
P. 158
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
138
2. บลูโทปาส (Blue Topaz) เป็นผลึกของแร่ควอทซ์ชนิดหนึ่งที่มีสีขาว แต่ความฉลาดของ
มนุษย์น าไปเจียระไนแล้วฉายรังสีท าให้โครงสร้างทางเคมีของพลอยเปลี่ยนและให้สีฟ้า
สว่างใส เป็นพลอยประจ าเดือนเกิดเดือนพฤศจิกายน
3. สรรพคุณของดอกอัญชัน ประกอบด้วย สารแอนโธไซยานิน สารอดีโนซีน สารแอฟเซลิน
และกรดอราไชดิก มีสรรพคุณเป็นสารต้านอนุมูลอิสระจากธรรมชาติ แก้ฟกช ้าบวมและ
รักษาอาการผมร่วง
เครื่องดื่ม- ชา
“เครื่องดื่มจากชา” เริ่มจากในประเทศจีนเมื่อ 5000 ปี มาแล้ว โดย จักรพรรดิเชงนัง (Sheng
Nung) ผู้ทรงอ านาจ และเป็นจักรพรรดิที่ชื่นชอบในงานแขนงต่าง ๆ ทั้งทางด้านศิลปะและวิทยาศาสตร์
ซึ่งมีเรื่องเล่าว่า จักรพรรดิผู้นี้นิยมดื่มน ้าที่ผ่านการต้มเพื่อความสะอาดเสมอ อยู่มาวันหนึ่งในช่วงฤดูร้อน
ของการเสด็จประพาสป่าของพระองค์ ในขณะที่ทหารก าลังต้มน ้าให้จักรพรรดิได้มีใบไม้แห้งชนิดหนึ่ง
ปลิวตกลงไปในน ้าต้มนั้นท าให้น ้ามีสีน ้าตาลอ่อน เมื่อจักรพรรดิได้ทดลองเสวย พระองค์ท่านพบว่ามัน
ให้กลิ่นหอมและท าให้รู้สึกสดชื่น และหลังจากนั้นเองการดื่มชาก็ได้เริ่มขึ้นและแพร่หลายจนถึงทุกวันนี้
ความนิยมในการดื่มชาในประเทศญี่ปุ่น เริ่มขึ้นในปี 1394 ในทวีปยุโรป เริ่มรู้จักและดื่มชาในปี 1560 ที่
ประเทศโปรตุเกส เพราะโปรตุเกสท าการค้ากับประเทศจีนในสมัยก่อนและหลังจากนั้นชาได้มีการขยาย
เข้าไปในประเทศฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ในปี 1602 การดื่มชาในทวีปอเมริกา เริ่มเข้าไปครั้งแรกใน
ย่าน New Amsterdam ต่อมาเรียกว่า นิวยอร์กในปี 1650 โดยพ่อค้าชาวเนเธอร์แลนด์ได้น าเข้าไป ยุคแรก
การดื่มชาของอังกฤษเกิดขึ้นระหว่างปี 1652 – 1654 ซึ่งต่อมาเครื่องดื่มจากชามีบทบาทมากขึ้น และชาว
อังกฤษหันมาดื่มชาแทนเครื่องดื่มประจ าชาติท าจากข้าวหมักที่เรียกว่า เอล (ale) และหลังจากนั้น
วัฒนธรรมการดื่มชา ในประเทศอังกฤษ และประเทศในยุโรปก็แพร่ขยายไปทั่วทุกระดับของสังคม
โดยเฉพาะการเสิร์ฟชากับอาหารว่างชนิดต่าง ๆ (http://th.wikipedia.org/wiki/)
“เครื่องดื่มจากชา” เป็นเครื่องดื่มที่มีการบริโภคกันมากกว่า 3 ล้านตันในแต่ละปี (ข้อมูลในปี
2552) ชาจึงถูกจัดเป็นพืชเศรษฐกิจที่สร้างรายได้จ านวนมหาศาลให้กับประเทศที่ผลิตชา ประเทศไทยเรา
มีการบริโภคชาและสามารถผลิตชาได้ แต่ปริมาณการผลิตยังไม่เพียงพอต่อความต้องการของผู้บริโภคชา
ในประเทศ ในแต่ละปีเราผลิตชาได้เพียงปีละประมาณ 11,000 ตัน (ข้อมูลในปี 2549) ในขณะเดียวกัน
ประเทศไทยยังต้องน าเข้าชาจากต่างประเทศ ปีละมากกว่า 500 – 700 ตัน ต่อปี ซึ่งมีมูลค่าถึงประมาณ 40
ล้านบาท (http://www.maejopoll.mju.ac.th/office/2011_maejopoll/boxer/20788.pdf) ดังนั้น กระทรวง