Page 110 -
P. 110

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       97



                               ขอเสนอแนะในการพัฒนาการใหบริการของ สกย.  จากการศึกษาพบวา นักวิชาการและ
                       ผูที่เกี่ยวของเสนอแนะใหควรมีการบูรณาการดานแผนรวมกับหนวยงานอื่นๆ เพื่อใหการดําเนินงานใน
                       พื้นที่เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ เชน การบูรณาการรวม กับสํานักงานเกษตรจังหวัดในการพัฒนา
                       เกษตรกรผูปลูกยางพารา พรอมทั้งมีการพัฒนาระบบการจัดการฐานขอมูลที่มีความเปนปจจุบัน

                       เพื่อใหสะดวก กับหนวยงานบูรณาการอื่นๆ  ในการนําไปใชงาน  มากที่สุด รองลงมา ควรเพิ่มการ
                       ประชาสัมพันธ บทบาทหนาที่ของ สกย. พรอมทั้งหลักเกณฑตางๆ ที่เกี่ยงของใหกับเกษตรกรไดทราบ
                       มากยิ่งขึ้น ควรมีการจัดการดานยางพาราที่ครอบคลุมทุกดาน ไดแก ดานวิชาการ ดานการตลาด
                       ตลอดจนมีการแจงขอมูลตางๆ ใหผูที่เกี่ยวของได รับทราบเพิ่มมากขึ้น  ควรมีการจัดตั้งศูนยขอมูล

                       ยางพาราในระดับจังหวัดเพื่อใชสําหรับเปนแหลงขอมูลใหกับเกษตรกรไดเรียนรูและนําไปประยุกตใช
                       นอกจากนี้ควรจัดทําคลีนิคเคลื่อนที่เพื่อใหความรูแกเกษตรกร  ซึ่งเปนบริการเชิงรุกแกกลุมเปาหมาย
                       และควรเพิ่มงบประมาณเกี่ยวกับการพัฒนาความรูในเรื่องคุณภาพของผลผลิตจากยางพาราใหมากขึ้น

                       2. ขอเสนอแนะจากการศึกษา

                         2.1 ขอเสนอแนะจากผลการศึกษา


                            1) ควรมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการดานวัสดุสงเคราะหใหแกเกษตรกร  โดยเฉพาะเรื่องปุย
                       บํารุงตนยาง  ดานความเพียงพอ  คุณภาพ  ความสะดวกในการขนสงของเกษตรกร   รวมทั้งกําหนด
                       แนวนโยบายที่ชัดเจนในการบริหารจัดการวัสดุสงเคราะห   (การจัดหาใหหรือใหจัดหาเองหรือใหผสม
                       ปุยใชเอง) ทั้งนี้เพื่อประโยชนสูงสุดที่เกษตรกรจะไดรับจากการใหบริการของ สกย.
                            2)  ควรจัดหาปุยและพันธุยางที่มีความเหมาะสมกับพื้นที่ปลูกยางของเกษตรกร   โดยมีการ

                       วิเคราะหดินกอนการแนะนําพันธุยางและการใชปุยที่มีความเหมาะสม
                            3) ควรพิจารณาการจายเงินสงเคราะหปลูกแทน  ดานความเหมาะสมของวงเงินในการใหการ
                       สงเคราะหตามภาวะเศรษฐกิจ   พรอมทั้งเพิ่มการชี้แจงระบบการจายเงินสงเคราะหและจํานวนเงิน

                       สงเคราะหแตละงวดที่จายใหแกเกษตรกรผูรับการสงเคราะหใหเกิดความเขาใจ
                            4)  ควรมีการชวยเหลือใหเกษตรกรมีอาชีพเสริมอยางทั่วถึง   ทั้งในดานของการสนับสนุน
                       องคความรู  เทคนิค/  วิธีการอยางตอเนื่อง  และสนับสนุนงบประมาณเริ่มตนในการประกอบอาชีพ
                       เสริม โดยเฉพาะเกษตรกรที่มีอาชีพการทําสวนยางเพียงอยางเดียว

                            5) ควรสรางความเขาใจในการจัดตั้งกลุมใหแกเกษตรกรชาวสวนยาง  โดยการประชาสัมพันธ
                       เพื่อชี้แจงเกษตรกรใหทราบถึงประโยชนที่จะไดรับการจัดตั้งกลุม  7 ขั้นตอนการจัดตั้งกลุม การบริหาร
                       จัดการกลุมอยางมีประสิทธิภาพ   พรอมทั้งสนับสนุนเจาหนาที่เพื่อเปนพี่เลี้ยงดูแลกลุมเกษตรกร
                       ทุกกลุมอยางทั่วถึงและตอเนื่อง

                            6) ควรเพิ่มการอบรมใหความรูเกี่ยวกับการทําสวนยางพาราแกเกษตรกร  โดยเฉพาะเกษตรกร  4
                       ที่เขารวมโครงการบํารุงรักษาสวนยางและการกรีดยางอยางถูกวิธีเพื่อเพิ่มผลผลิต    เรื่องพันธุยาง  4
                       การบํารุงรักษา และการปองกันโรคที่เกิดกับตนยางพาราอยางตอเนื่อง
                            7) การจัดอบรมแตละหลักสูตรควรประเมินความตองการจําเปน  (Needs Assessment) ของ

                       เกษตรกรกอน เพื่อใหตรงกับความจําเปนและความตองการของเกษตรกร พรอมทั้งมีการเก็บรวบรวม
                       ขอมมูลของเกษตรกรกอน-หลังการใหความรู  เชน  ผลการทดสอบความรูกอน-หลัง  ความเหมาะสม
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115