Page 109 -
P. 109

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






               96



               ควรเพิ่มการประชาสัมพันธขั้นตอนและการดําเนินการเกี่ยวกับการชําระเงินผาน  NSW และควรมีการ
               ปรับปรุงระบบการกรอกขอมูลผานเว็บไซตเพื่อลดระยะเวลาในการกรอกขอมูลใหม

                     6) นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของ

                        ขอมูลทั่วไป นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของ จากตัวอยางทั้งสิ้น จํานวน 99 ราย สวนใหญ
               เปนเพศหญิง มีอายุเฉลี่ย 45 ป และจบการศึกษาระดับปริญญาตรี

                        ความพึงพอใจตอกระบวนการทํางานและคุณภาพการใหบริการในดานตางๆ
               นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของมีความพึงพอใจมากที่สุดตอดานบทบาทหนาที่ของ สกย. ที่มีตอเกษตรกร

               ชาวสวนยางในระดับสูงที่สุด รองลงมาดานผลการดําเนินงานของ สกย. เปนประโยชนตอเกษตรกร
               ชาวสวนยาง ดานการไดรับความรวมมือจาก สกย. ดานผลการดําเนินงานของ สกย. เปนประโยชนตอ
               สังคมและประเทศชาติ ดานการใหบริการของ สกย. ตอเกษตรกรชาวสวนยาง ดานความสะดวกใน
               การติดตอประสานงานกับ สกย. ดานบุคลิกภาพของพนักงาน สกย. และมีความพึงพอใจในระดับนอย

               ที่สุดตอดานสิ่งอํานวยความสะดวกของ สกย. เชน สถานที่ อุปกรณ

                        ขั้นตอนการใหบริการของ สกย. ที่ยังไมพึงพอใจ  จากการศึกษาพบวา นักวิชาการและ
               ผูที่เกี่ยวของ ยังไมพึงพอใจ มากที่สุดเทากัน 2 ดาน คือ 1.1)   ดานการใหบริการของ สกย. ตอ
               เกษตรกรชาวสวนยาง ไดแก การใหบริการของ สกย. ยังไมครอบคลุมถึงเกษตรกรรายยอยที่ไมไดเขา
               รวมโครงการ เจาหนาที่ที่ใหบริการมีไมเพียงพอตอจํานวนเกษตรกร มีการประชาสัมพันธขอมูลขาสาร

               ในระดับพื้นที่ นอย 1.2) ดานความสะดวกในการติดตอประสานงานกับ สกย . ไดแก การติดตอ
               ประสานงานทางโทรศัพทคอนขางยาก   บุคลากรมีนอย บางครั้ง เจาหนาไมอยูเมื่อไปประสานงาน
               รองลงมาเทากัน 2 ดานเชนกัน คือ 2.1)   ดานบทบาทหนาที่ของ สกย. ที่มีตอเกษตรกรชาว

               สวนยาง ไดแก เกษตรกรสวนใหญไมไดประสานความรวมมือกับเจาหนาที่ สกย. โดยตรง เนื่องจากไม
               ทราบบทบาทหนาที่ที่ชัดเจนของ สกย.  2.2) ดานสิ่งอํานวยความสะดวกของ สกย. เชน สถานที่
               อุปกรณ  ไดแก  ไมมีสถานที่ตั้งสํานักงานเปนของตนเอง ทําใหติดตอประสานงานคอนขางยาก
               ในสํานักงานควรมีหองประชุมขนาดใหญเพื่อรองรับจํานวนผูมาใชบริการ ขาดแคลนอุปกรณสํานักงาน
               ไดแก คอมพิวเตอร 3) ดานการไดรับความรวมมือจาก สกย. ไดแก เจาหนาที่ใหความรวมมือในการ

               ประสานงานเฉพาะโครงการของรัฐบาล (การแกไขปญหาราคายางพาราทั้ งระบบป 2557) 4) ดาน
               ผลการดําเนินงานของ สกย. เปนประโยชนตอเกษตรกรชาวสวนยาง         ไดแก  ในบางจังหวัด มี
               การประสานความรวมมือกับหนวยงานตางๆ ที่จะทําใหการดําเนินงา นเกิดประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

               นอย และ 5) ดานอื่นๆ ไดแก ขาดการประชาสัมพันธขอมูลความรูตางๆ ใหแกเกษตรกร

                        ปญหาในการรับบริการ  จากการศึกษาพบวา นักวิชาการและผูที่เกี่ยวของ ประสบปญหา
               จํานวนเจาหนาที่มีไมเพียงพอกับการใหบริการเกษตรกรมากที่สุด รองลงมาขอมูลพื้นฐานของ
               เกษตรกรที่อยูภายใตการดูแลของ สกย ไมสมบูรณทําใหหนวยงานรวมบูรณาการพัฒนาเกษตรกรตอง
               ใชระยะเวลามากขึ้น ในการปรับปรุงขอมูล   การจัดฝกอบรมใหความรูแกเกษตรกรแตละป  ได

               งบประมาณคอนขางนอยสงผลใหอบรมเกษตรกรไดจํานวนนอย
   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114