Page 112 -
P. 112

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว






                                                                                                       99



                            16) สรางผูสืบทอดในการทําสวนยางรุนตอไป  โดยการสรางคานิยมใหมแกคนรุนลูกรุนหลาน
                       เพื่อใหมีทายาทรับชวงในการทําสวนยางพาราตอไป รวมทั้งมีแนวทางรวมกันในการพัฒนา การไมขาย
                       ที่ดินทํากิน พัฒนาสูการสรางความมั่นคงใหกับตนเองและครอบครัวตอไป

                         2.2 ขอเสนอแนะในการศึกษาครั้งตอไป

                            1) การสํารวจความพึงพอใจของสํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ในกลุมของพอคา
                                                                                                     4
                       ที่รับซื้อผลผลิตยางของเกษตรกร ควรคัดเลือกเฉพาะพอคา  4ที่เปนผูใชบริการของสํานักงานกองทุน
                       สงเคราะหการทําสวนยางเปนตัวอยางในการใหขอมูล  ดานปญหา อุปสรรค และขอเสนอแนะในการ
                       รับบริการซึ่งจะทําใหไดรับขอมูลที่เที่ยงตรงและมีความเบี่ยงเบนนอยจากความเปนจริง
                            2)  ควรมีการศึกษาบทบาทและหนาที่อันพึงประสงคของครูยางในการเปนผูถายทอดความรู
                       และประสานความรวมมือในการทํางานรวมกับหนวยงานตางๆ  เพื่อเปนตนแบบในการพัฒนาครูยาง

                       รุนใหม หรือกําหนดคุณสมบัติในการพิจารณาครูยาง
                            3)  ควรมีการศึกษาแนวทางพัฒนาตอยอดศักยภาพครูยางทั้งดานการบริหารจัด การการผลิต
                       การรวมกลุม การตลาด เพื่อเตรียมความพรอมครูยาง  ซึ่งเปนผูนําเกษตรกรชาวสวนยางในการจัดตั้ง
                       องคกรธุรกิจการผลิต และการตลาด รวมถึงการสรางและเชื่อมโยงเครือขายของเกษตรกรชาวสวนยาง

                       เพื่อรองรับการเขาสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในป 2558
                            4)  ควรมีการศึกษาแนวทางในการพัฒนายุวเกษตรกร   เกษตรกร  และครูยาง  เพื่อใชเปน
                       แนวทางในการพัฒนาทรัพยากรมนุษยดานเกษตรสวนยาง   ตามแนวทางการพัฒนาการเกษตรตาม

                       แนวทฤษฎีใหม ภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง4 ตั้งแต ขั้นที่ 1 ในดานของการผลิตในระดับ
                       บุคคลและครอบครัว เพื่อใหเกษตรกรพึ่งตนเองและพัฒนาไปสูขั้นพออยูพอกิน  ขั้นที่ 2 ดานการรวม
                       พลังในรูปแบบของกลุมหรือสหกรณ   เชน  การผลิต  การตลาด  ความเปนอยูและปจจัยพื้นฐานการ
                       ดํารงชีวิต สวัสดิการ สาธารณสุข การอบรม การศึกษา สังคม และศาสนา ขั้นที่ 3 การสรางเครือขาย
                       ระหวางกลุมหรือการสรางเครื่องมือดานแหลงเงินทุน  การตลาด การผลิต การจัดการขอมูลขาวสาร

                       กับภาคธุรกิจ องคการพัฒนาเอกชน และภาครัฐเพื่อนําไปสูการลดตนทุน  และเพื่อเพิ่มผลประโยชน
                       ใหกับกลุม
                            5)  ควรมีการศึกษาถึงปญหา  ความตองการ  และแนวทางในการพัฒนาความรูของเกษตรกร

                       ชาวสวนยางพาราในแตละภูมิภาค   โดยพิจารณาถึงบริบทของเกษตรกรและสภาพแวดลอมของสวน
                       ยางพาราเปนขอบเขตการศึกษา  ทั้งนี้เพื่อใหทราบถึงความตองการที่จําเปน  (Needs Assessment)
                       ในองคความรูของเกษตรกรในแตละพื้นที่
                            6)  ควรมีการศึกษารูปแบบการพัฒนา   การบริหารจัดการกลุมและสหกรณดานเกษตรสวน

                       ยางพารา พรอมทั้งจัดทําตนแบบหรือแบบจําลอง  (Model) ในการดําเนินงานของกลุม จากกลุมและ
                       สหกรณที่ไมประสบความสําเร็จและประสบความสําเร็จในแตละภูมิภาคที่มีลักษณะภูมิสังคมและ
                       ภูมินิเวศแตกตางกัน เพื่อนําผลจากการศึกษามาเปนตนแบบในการพัฒนาการสงเสริมดานการบริหาร
                       จัดการกลุมใหเกิดความยั่งยืน
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117