Page 139 -
P. 139
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
5-5
(3) พิจารณาแก้ไขเทศบัญญัติก่อสร้าง โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร ให้
สอดคล้องกับสภาพของเมืองในปัจจุบันที่ราคาที่ดินสูงขึ้นมาก
(4) ปรับราคาประเมินที่ดินให้สอดคล้องกับราคาที่มีการซื้อขายจริง
โดยเฉพาะในบริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงของราคาตลาดอย่างรวดเร็วอันเป็นผลมาจากโครงการลงทุนของรัฐ
และเร่งด าเนินการจัดตั้งส านักงานกลางที่มีอิสระในการก าหนดราคาที่ดินและโรงเรือน
(5) พิจารณาเพิ่มอัตราภาษีบ ารุงท้องที่ส าหรับที่ดินที่มิได้มีการใช้
ประโยชน์ หรือใช้ประโยชน์ผิดรูปแบบ ตามที่จะก าหนดในข้อ (1) ”
วันที่ 25 ตุลาคม 2533 คณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์
ได้มีมติในการประชุม ครั้งที่ 4/2533 ในเรื่องการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม ดังนี้
“ ในปัจจุบันได้มีการใช้พื้นที่ดินทางการเกษตรไปประกอบอุตสาหกรรมเป็นจ านวนมาก
ท าให้พื้นที่ท าการเกษตรลดน้อยลง เพื่อสงวนพื้นดินไว้ท าการเกษตร การก าหนดเขตท าการเกษตรจึงเป็นสิ่งจ าเป็น
แต่ในช่วงที่ผ่านมาไม่ว่าการก าหนดเขตอุตสาหกรรม การก าหนดพื้นที่สีเขียวมีการโต้แย้งเป็นปัญหาในทางปฏิบัติ
เพื่อให้การก าหนดเขตท าการเกษตรประสบผลส าเร็จ มาตรการที่ใช้ควรยึดหลักการให้สิ่งจูงใจแก่ภาคเกษตร กล่าวคือ
ให้สิ่งสนับสนุนต่างๆ เช่น ปัจจัยการผลิต สินเชื่อ เป็นต้น น่าจะเหมาะสมกว่าการใช้หลักการบังคับซึ่งจะเป็นการไม่
เป็นธรรมส าหรับเกษตรกร รวมทั้งใช้มาตรการที่เป็นการสกัดกั้นไม่ให้ผู้ประกอบการด้านอื่นเข้าไปในพื้นที่
เช่น สกัดกั้นอุตสาหกรรมด้วยมาตรการด้านการเก็บค่าน้ า เป็นต้น”
ในปี พ.ศ. 2533-2534 คณะกรรมาธิการการเกษตรและสหกรณ์ วุฒิสภาตระหนักถึง
ปัญหาการสูญเสียพื้นที่เกษตรกรรม จึงได้จัดสัมมนาเรื่อง แนวคิดการก าหนดเขตเกษตรกรรมแห่งชาติขึ้น
รวม 2 ครั้ง ดังนี้
(1) สรุปการสัมมนา ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน 2533 ที่ห้องประชุมรัฐสภา
กรุงเทพมหานคร มีดังนี้
“1. ทุกฝ่ายเห็นพ้องต้องกันว่าควรมีการก าหนดเขตเกษตรกรรมแห่งชาติขึ้น
ทั้งนี้ควรด าเนินการโดยก าหนดของเขตการใช้ที่ดินเพื่อกิจกรรมต่างๆ ให้ชัดเจนทั่วประเทศ
2. จ าเป็นจะต้องมีการปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่ให้เอื้ออ านวยต่อการ
ก าหนดเขตเกษตรกรรมแห่งชาติในอนาคต ตลอดจนองค์กรกลางที่จะท าหน้าที่บริหารที่ดินของประเทศ
3. การก าหนดเขตเกษตรกรรมแห่งชาติจะต้องยึดความเหมาะสมของดิน
เป็นหลักเพื่อให้มีผลตอบแทนที่คุ้มต่อการลงทุน
4. การก าหนดเขตการเกษตรกรรมแห่งชาตินั้น ควรจะต้องยืดหยุ่นควร
จะมีการทบทวนการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินตามช่วงระยะเวลา ตามสภาพการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศ
5. ในการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินที่ก าหนดไว้แล้วจะต้องน ามาตรการ
ด้านภาษีเข้ามาเรียกจากผู้ที่กระท าให้การใช้ที่ดินเปลี่ยนแปลงไป เพื่อรัฐจะได้น าเงินที่เก็บได้ไปพัฒนาพื้นที่อื่นๆ