Page 92 -
P. 92

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      12-37



                   พิจารณาจัดสรรงบประมาณให้สอดคล้องกับกิจกรรมต่างๆ ตามความเหมาะสมเป็นปีๆ ไป โดยให้กระทรวง
                   เกษตรฯ รับความเห็นของกระทรวงสาธารณสุข  ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม

                   แห่งชาติ และข้อสังเกตของคณะรัฐมนตรี  (เกี่ยวกับการรณรงค์และประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความตื่นตัวให้

                   ประชาชนได้ตระหนักถึงความส าคัญของคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยในการบริโภคนั้น  เพื่อการ
                   ประหยัดกระทรวงเกษตรฯ ควรประสานกับกรมประชาสัมพันธ์เพื่อด าเนินการในเรื่องนี้ด้วย นอกจากนี้ เพื่อ

                   ความปลอดภัยต่อการบริโภค และไม่กระทบต่อสภาพแวดล้อมควรรณรงค์อย่างจริงจังให้เกษตรกรลดการใช้
                   สารเคมีและให้ใช้ชีวอินทรีย์และสารสกัดจากธรรมชาติแทน  และให้ส านักงบประมาณพิจารณาสนับสนุน

                   งบประมาณด าเนินการ) ไปพิจารณาด าเนินการด้วย

                           วันที่ 14 ธันวาคม 2542 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบาย
                   เศรษฐกิจ  (คศก.) คือ เห็นชอบยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรหลัก ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  และ

                   กระทรวงพาณิชย์เสนอ โดยให้กระทรวงเกษตรฯ และกระทรวงพาณิชย์  รับข้อเสนอของนายกรัฐมนตรี

                   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง และข้อสังเกตของ คศก. (เกี่ยวกับการให้กระทรวงเกษตรฯ และกระทรวง
                   พาณิชย์ปรับปรุงข้อมูลในเอกสารยุทธศาสตร์สินค้าเกษตรหลักให้สมบูรณ์ และน าเสนอคณะรัฐมนตรีต่อไป

                   กับเห็นควรให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร  (ธ.ก.ส.) ได้มีบทบาท ร่วมในการด าเนินการ

                   เพราะขณะนี้ ธ.ก.ส. มีความพร้อมมากขึ้น  อันเป็นผลมาจากการปรับปรุงกฎหมาย ธ.ก.ส. นอก จากนี้
                   การก าหนดยุทธศาสตร์ควรให้ความส าคัญในเรื่องรายได้ของเกษตรกรมากกว่าราคาสินค้าเกษตร  การ

                   ปกป้อง คุ้มครองผู้ผลิตไม่ให้ถูกเอาเปรียบจากพ่อค้าคนกลางและผู้ส่งออก สนับสนุนให้มีการลดต้นทุนการ
                   ผลิต การพัฒนา แปรรูปสินค้าเกษตรให้หลากหลายประเภทมากขึ้น พัฒนาคุณภาพการผลิตสินค้าเกษตรให้

                   มีมาตรฐาน และควรมี  มาตรการเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดตั้งตลาดต่างๆ เช่น  ตลาดกลางสินค้าเกษตรและ

                   การส่งเสริมให้สหกรณ์มีบทบาทใน ด้านการตลาด และเป็นกลไกสนับสนุนการแทรกแซงตลาด การแปรรูป
                   และบรรจุหีบห่อเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม รวมทั้ง การส่งออก ส าหรับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ในส่วนของการ

                   ปฏิบัติตามมาตรการระยะสั้นจะต้องมีการก ากับดูแล ให้ด าเนินการโดยรวดเร็วและทันการณ์ ส่วนมาตรการ
                   ระยะยาวจะต้องสอดคล้องกับแผนปรับโครงสร้างภาคเกษตรที่  คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติไปแล้ว  และในการ

                   แทรกแซงราคาสินค้าเกษตรเป็นเพียงการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าซึ่งไม่ก่อ ให้เกิดประโยชน์ในระยะยาว หาก

                   รัฐด าเนินการมากเกินไปเกษตรกรจะไม่ปรับตัวให้เข้ากับสภาพเหตุการณ์ที่แท้จริง ของตลาด รวมถึงความ
                   โปร่งใสในการด าเนินมาตรการต่างๆ เป็นเรื่องที่กระทรวงเกษตรฯ  และกระทรวงพาณิชย์จะ ต้องขอความ

                   ร่วมมือจากกระทรวงมหาดไทย เพื่อดูแลการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ด้วย) ไปพิจารณาด าเนินการต่อไป

                           วันที่ 28 ธันวาคม 2542 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้ขยายระยะเวลาวงเงินกู้ทุกโครงการ
                   แทรกแซงตลาดยางพาราที่กู้จากธนาคารกรุงไทย  จ ากัด (มหาชน) ทุกวงเงินรวม 16,596.58  ล้านบาทซึ่ง

                   เป็นวงเงินที่สอดคล้องกับความจ าเป็นในการขยายระยะเวลากู้เงินออกไปอีก 6  เดือน  จนถึงวันที่ 30
                   มิถุนายน 2543 โดยมีกระทรวงการคลังค้ าประกัน และให้องค์การสวนยางกู้เงินจ านวน 378 ล้านบาท
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97