Page 97 -
P. 97

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      12-42



                   ปลูกสับปะรด 13  จังหวัด  โดยการสนับสนุนให้กลุ่มผู้ปลูกสับปะรดได้รวมตัวกันขึ้นทะเบียนเป็นกลุ่มนิติบุคคล
                   ประสานงานการท าข้อตกลงซื้อขายสับปะรดล่วงหน้า โดยจัดเวทีประชุมร่วม 3  ฝ่าย  ระหว่างเกษตรกร โรงงาน

                   และส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง  การพัฒนาวัตถุดิบและถ่ายทอดเทคโนโลยี  ได้จัดท าแปลงสาธิตการปลูกสับปะรด

                   และแปลงทดสอบการปลูกสับปะรดแบบไม่ไถพรวน  จัดงานวันสาธิตสับปะรด และสนับสนุนงบประมาณให้แก่
                   กลุ่มผู้ปลูกสับปะรด  รวมทั้งมาตรการสนับสนุนเสริมประสิทธิภาพการบริหารงานพัฒนาและแก้ไขปัญหา

                   สับปะรด  โดยองค์กรที่เป็นศูนย์กลาง ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายและพัฒนาสับปะรดแห่งชาติ  ส านักงาน
                   พัฒนาสับปะรดแห่งประเทศไทย และสหพันธ์ชาวไร่สับปะรดแห่งประเทศไทย  ส าหรับแผนงานที่เหลืออีก

                   2 แผนงานจะได้ด าเนินการต่อไป

                           วันที่ 2 พฤษภาคม 2543  คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์
                   (นายไพฑูรย์ แก้วทอง) รายงานสถานการณ์การขายข้าวของเกษตรกร  โดยกรณีการชุมนุมของเกษตรกรผู้

                   ปลูกข้าวในขณะนี้ มีสาเหตุมาจากข้าวนาปรังซึ่งมีผลผลิตออกมามากและมีความชื้นสูง เนื่องจากฝนตก ท า

                   ให้โรงสีที่เข้าร่วมโครงการแทรกแซงราคาข้าวเปลือกมีไม่พอกับความต้องการขายข้าวของเกษตรกร  ทั้งนี้
                   กระทรวงพาณิชย์ได้พยายามหาทางให้มีโรงสีเข้าร่วมโครงการฯ เพิ่มมากขึ้น ซึ่งสถานการณ์ขณะนี้จะค่อยๆ

                   ดีขึ้น ส่วนการชุมนุมของเกษตรกรจังหวัดสุโขทัยเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2543 มีสาเหตุมาจากทางราชการ

                   เข้าไปแทรกแซงราคาข้าวช้า  ประกอบกับเกษตรกรขายข้าวให้พ่อค้าไปหมดแล้วท าให้เสียโอกาสที่จะขาย
                   ข้าวให้กับทางราชการ  และประสงค์จะขอค่าชดเชยการขายข้าวให้โรงสีในราคาเกวียนละ 500  บาท

                   โดยได้นัดตัวแทนเกษตรกรร่วมหารือเพื่อช่วยเหลือต่อไปแล้ว
                           วันที่ 16 พฤษภาคม 2543 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบให้ด าเนินงานโครงการน าร่องเพื่อพัฒนา

                   เกษตรกรรมยั่งยืนของเกษตรกรรายย่อย โดยให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ออกระเบียบกระทรวงเกษตร

                   และสหกรณ์ว่าด้วยเงินอุดหนุนโครงการน าร่องเพื่อพัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืนของเกษตรกรรายย่อย พ.ศ. ....
                   รองรับการบริหารงบประมาณโครงการฯ ตามที่กระทรวงเกษตรฯ เสนอ ทั้งนี้ ให้รับความเห็นของส านักงาน

                   คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ  (เกี่ยวกับการน าหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมา
                   ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ในการประกอบอาชีพให้เหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น  รวมทั้งวางระบบการติดตาม

                   การประเมินผลและการสร้างตัวชี้วัดความส าเร็จในการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับพื้นที่  ภารกิจ และการมี

                   ส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการถ่ายทอด พัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น และการสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนเป็น
                   รากฐานส าคัญของการพัฒนาต่อไป)  ไปพิจารณาด าเนินการด้วย กับเห็นชอบในการจัดสรรงบประมาณ

                   รายจ่ายให้กระทรวงเกษตรฯ  เพื่อสนับสนุนการด าเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2544  -

                   พ.ศ. 2546 ภายในกรอบวงเงินไม่เกิน 633 ล้านบาท และให้ส านักงบประมาณพิจารณาจัดสรรงบประมาณ
                   ให้ตามความจ าเป็นและเหมาะสม ตามความเห็นของส านักงบประมาณ

                           วันที่ 30 พฤษภาคม 2543 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบและเห็นชอบตามมติที่ประชุมร่วมกันของ
                   คณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทรายและคณะกรรมการบริหารกองทุน โดยมาตรการในการเพิ่มรายได้ให้แก่

                   กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายให้ด าเนินการแยกภาษีมูลค่าเพิ่มออกจากราคาจ าหน่ายน้ าตาลทราย
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102