Page 96 -
P. 96

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      12-41



                   เกี่ยวกับการให้สินเชื่อของสถาบันการเงิน (Micro  Credit)  ส าหรับผู้ประกอบการขนาดเล็ก (Micro
                   Enterprises) วงเงินจ านวนไม่มาก ของธนาคารออมสิน และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

                   (ธ.ก.ส.) ความคืบหน้าในการจัดตั้งกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร และมีแผนจัดตั้งสถาบันพัฒนาองค์กร

                   ชุมชนเพื่อด าเนินการให้สินเชื่อประเภทดังกล่าว
                           วันที่ 14 มีนาคม 2543 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่ส านักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร

                   รายงานการพิจารณาศึกษาญัตติให้มีการควบคุมการใช้ประโยชน์ในที่ดินเพื่อเกษตรกรรม พร้อมทั้งข้อสังเกต
                   และข้อเสนอแนะ  สรุปได้ว่าพื้นที่ที่จะน ามาพัฒนาเป็นพื้นที่ชลประทานมีน้อยเพราะไม่สามารถหาพื้นที่ที่

                   เหมาะสมได้ ประกอบกับได้มีการคัดค้านจากบุคคลกลุ่มต่างๆ ในขณะที่พื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเกษตรซึ่งไม่

                   สามารถสร้างขึ้นทดแทนได้เปลี่ยนสภาพไปใช้เพื่อกิจกรรมอื่น  ส าหรับการคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรมนั้น
                   จ าแนกเป็น พื้นที่ที่ควรด าเนินการคุ้มครอง  และพื้นที่เร่งด่วนที่ควรคุ้มครอง โดยการตรากฎหมายขึ้นใหม่

                   เป็นการเฉพาะ  และมาตรการช่วยเหลือที่เหมาะสมเพื่อให้เกิดความเป็นธรรมแก่เจ้าของที่ดิน  พร้อมทั้งได้

                   เสนอร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองพื้นที่เกษตรกรรม พ.ศ. ....  ที่ก าหนดให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตร
                   และสหกรณ์และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามพระราชบัญญัติฉบับนี้  และมอบให้

                   กระทรวงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย และกระทรวงวิทยาศาสตร์  เทคโนโลยีและ

                   สิ่งแวดล้อม รับไปพิจารณาด าเนินการ แล้วแจ้งให้ส านักเลขาธิการ  คณะรัฐมนตรีทราบเพื่อน าเสนอ
                   คณะรัฐมนตรีต่อไป

                           วันที่ 4 เมษายน 2543 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการรัฐมนตรีว่าด้วยนโยบาย
                   เศรษฐกิจ (คศก.) คือ รับทราบรายงานความคืบหน้าการพัฒนาการเลี้ยงกุ้งกุลาด า ตามที่กระทรวงเกษตร

                   และสหกรณ์เสนอ  (เกี่ยวกับกองทุนวิจัยและพัฒนากุ้งและผลิตภัณฑ์กุ้ง พ.ศ. 2542  การดูแลเข้มงวดเรื่อง

                   การฉีดเลนเพื่อสามารถส่งเสริมการเลี้ยงอย่างเป็นระบบและรักษาสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ การเร่งรัดการ
                   ก าหนดเขตพื้นที่เหมาะสมแก่การเลี้ยงกุ้งกุลาด า (Zoning)  และการพิจารณาปรับปรุงระบบการจัดสรรน้ า

                   ชลประทานเพื่อช่วยสนับสนุนและลดความเจือจางของน้ าเค็มในการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลตามความเหมาะสม
                   ของพื้นที่  และความต้องการของเกษตรกร) โดยให้กระทรวงเกษตรฯ รับข้อสังเกตของปลัดกระทรวง

                   พาณิชย์  (เกี่ยวกับการที่กระทรวงเกษตรฯ  ออกระเบียบก าหนดให้น าเงินกองทุนส่งเสริมการค้าระหว่าง

                   ประเทศ จ านวน 50 ล้านบาท จากกระทรวงพาณิชย์มาเป็นเงินประเดิมของกองทุนวิจัยและพัฒนากุ้งเพื่อ
                   สนับสนุนการด าเนินงานของกองทุน  นั้น ไม่สอดคล้องกับกฎหมายและระเบียบของกระทรวงพาณิชย์

                   วิธีการที่กระทรวงเกษตรฯ  จะสามารถขอรับความช่วยเหลือจากกองทุนดังกล่าวได้ ควรน าเสนอในรูปของ

                   โครงการแทน และควรเร่งส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้ยง
                           วันที่ 2 พฤษภาคม 2543  คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์รายงานผล

                   การด าเนินงานแผนพัฒนาสับปะรดปี  2542  -  2546  สรุปได้ว่า แผนพัฒนาสับปะรดฯ แบ่งออกเป็น
                   3  แผนงานย่อย คือ  แผนงานพัฒนาองค์กร แผนงานวิจัยการผลิต และแผนงานสร้างระบบข้อมูล ซึ่งในปี 2542

                   ได้ด าเนินการแผนงานพัฒนาองค์กรไปแล้ว คือ การจัดระบบการผลิตการตลาดได้ส ารวจผลผลิตสับปะรดในพื้นที่
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101