Page 158 -
P. 158

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      13-37



                   ผลผลิตมาจ าน า ส าหรับหน่วยงานที่เป็นกลไกหลักในการแก้ไขปัญหา  ซึ่งได้แก่ อ.ต.ก. และ อคส. นั้น

                   คณะรัฐมนตรีได้เคยมีมติมอบให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก ากับดูแลและติดตามตรวจสอบการ
                   ด าเนินงานของ อตก. ให้ใกล้ชิด หากควรปรับปรุงแก้ไขให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ก็ให้ด าเนินการได้

                   และหากเห็นว่าหน่วยงานดังกล่าวไม่สามารถด าเนินการให้เกิดประโยชน์กับเกษตรกรอีกต่อไป ก็ให้พิจารณา

                   ยุบเลิกได้
                           วันที่ 14 ตุลาคม 2546  คณะรัฐมนตรีรับทราบเรื่อง การแก้ไขปัญหาที่ดินท ากินให้แก่ประชาชน

                   ตามที่รองนายกรัฐมนตรี (พลเอก ชวลิต  ยงใจยุทธ) เสนอ สรุปได้ดังนี้
                                  แนวความคิด ที่ดินท ากิน เป็นที่ดินเพื่อท าให้เกษตรกรมีหลักประกันในการท ามาหากินเพื่อ

                   ปลดปล่อยศักยภาพในการพัฒนาที่ดินให้เกิดมูลค่าเพิ่มเป็นประโยชน์สูงสุด “ ที่ดินคือเครื่องพิมพ์แบงก์ของคนจน”

                                         1.  Bottom  line   คือการให้ที่ดินท ากินแก่เกษตรกร  ท าการเกษตรกรรม
                   กสิกรรม ปศุสัตว์ ฯลฯ

                                         2. ขายไม่ได้ แต่ให้โอนตกทอดแก่ทายาทได้ และเป็นหลักทรัพย์ในการค้ าประกัน
                                         3. จัดสรรให้กับผู้ที่มีศักยภาพที่จะท ากินได้ (ใช้ท ามาหากิน)

                                         4. จัดระบบเอกสารสิทธิ์ในลักษณะ Single Channel Single Policy

                                         5.  จัดสรรที่ดินที่มีอยู่ให้แก่ประชาชนในจังหวัดนั้น ๆ ก่อน เว้นแต่จะมีความ
                   ต้องการมากกว่าหรือมีที่ดินเหลือ

                           วันที่  28 ตุลาคม 2546  คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่กระทรวงการคลังเสนอผลการประชุม

                   ร่วมระหว่างสถาบันการเงินของรัฐและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับเรื่อง  การพิจารณาให้สถาบันการเงิน
                   ของรัฐจัดสินเชื่อเพื่อใช้เป็นเงินทุนหมุนเวียนให้แก่สถาบันเกษตรกร   ซึ่งผลการประชุมของที่ประชุมร่วมฯ

                   ในส่วนของสถาบันการเงินยินดีสนับสนุนการให้สินเชื่อแก่สถาบันเกษตรกรตามเกณฑ์ปกติของแต่ละสถาบัน

                   ทั้งนี้ กระทรวงการคลังมีข้อเสนอเพิ่มเติมว่า  ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดให้มีการเชื่อมโยงระหว่าง
                   หน่วยงานด้านการผลิต การแปรรูป  การตลาด และการส่งออกเข้าด้วยกัน  เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการ

                   ด าเนินมาตรการรักษาเสถียรภาพราคายางทั้งระบบ  โดยบริษัทร่วมทุนยางพาราระหว่างประเทศจ ากัด
                   (IRCo)  ต้องมีการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ มีการวางแผน การจ าหน่าย  และการจัดซื้อที่ดีเพื่อลด

                   ต้นทุน Stock ท าให้เกิดประโยชน์ต่อทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง พร้อมทั้งค าชี้แจงของกระทรวงเกษตรฯ เกี่ยวกับ

                   ข้อเสนอของกระทรวงการคลังชี้แจงว่าสถาบันเกษตรกรจะน าสินเชื่อไปซื้อยางแผ่นดิบจากสมาชิกสถาบัน
                   เกษตรกร เพื่อน าไปผลิตยางแผ่นรมควันอัดก้อนเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม (Value added) และขายให้แก่บริษัท

                   ร่วมทุนยางพารา
                           วันที่ 16 ธันวาคม 2546  คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอว่า  จากการที่

                   ประเทศญี่ปุ่นได้พัฒนาเทคโนโลยีโดยน าเอาฟางข้าวและซังข้าวโพดมาท าเป็นพลาสติก  ซึ่งท าให้เกษตรกรที่

                   ปลูกพืชดังกล่าวมีรายได้จากการขายฟางข้าวและซังข้าวโพด  และไม่ต้องก าจัดวัสดุดังกล่าวทิ้งโดยเปล่า
                   ประโยชน์อีกต่อไป  ซึ่งในส่วนของประเทศไทยมีฟางข้าวและซังข้าวโพดเหลือทิ้งหลังเก็บเกี่ยวพืชผลจ านวน
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163