Page 163 -
P. 163

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      13-42



                   กฎหมายท าให้ชาวไร่อ้อยเป็นจ านวนมากได้รับความเสียหาย รวมทั้งได้มีการเพิ่มเติมข้อความในเรื่องการน า

                   เครดิตภาษีจากการขายน้ าตาลทรายมาคิดเป็นรายได้เพื่อค านวณราคาอ้อยฯ โดยยังไม่ได้ผ่านความเห็นชอบ
                   จาก กอน. และคณะรัฐมนตรีตามที่กฎหมายก าหนด  ซึ่งศาลแพ่งได้มีค าพิพากษาให้เพิกถอนประกาศ

                   ดังกล่าว ตามค าพิพากษาของศาลแพ่ง  คดีหมายเลขด าที่ ปค. 290/2541 คดีหมายเลขแดงที่ ปค.8/2546

                   และกระทรวงอุตสาหกรรมได้มีหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ อก 0601/419 ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2546 แจ้ง
                   ส านักงานอัยการสูงสุดว่าเห็นควรด าเนินการตามความเห็นของส านักงานอัยการสูงสุด  (ไม่อุทธรณ์) ดังนั้น

                   คดีดังกล่าวจึงถึงที่สุดแล้ว  และเมื่อประกาศฉบับดังกล่าวถูกเพิกถอนโดยค าพิพากษา  จึงจ าเป็นจะต้อง
                   ด าเนินการน าเสนอประกาศราคาอ้อยและผลตอบแทนการผลิตและจ าหน่ายน้ าตาลทราย  ฤดูการผลิตปี

                   2539/2540 ถึงฤดูการผลิตปี 2541/2542  ให้คณะรัฐมนตรีพิจารณาให้ความเห็นชอบอีกครั้งหนึ่ง  โดยใช้

                   หลักเกณฑ์และวิธีการตามประกาศ กอน. ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2537  เพื่อป้องกันผลกระทบที่เกิดจากการเพิก
                   ถอนประกาศดังกล่าว  ที่อาจจะท าให้กองทุนอ้อยและน้ าตาลทรายต้องเข้ามารับผิดชอบในการจ่ายเงิน

                   ชดเชยให้กับชาวไร่อ้อยและโรงงานน้ าตาลทรายที่เสียหายจากการออกประกาศฉบับดังกล่าว
                           วันที่ 7 เมษายน 2547  คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบตามที่กระทรวงการคลังรายงานผลการ

                   ด าเนินการโครงการพักช าระหนี้และลดภาระหนี้ให้แก่เกษตรกรรายย่อย  ครบ 3 ปี ตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน

                   2544 ถึงวันที่ 31 มีนาคม 2547 โดยผลการด าเนินงานเมื่อเริ่มต้นโครงการจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2547 มี
                   เกษตรกรคงเหลือจ านวน 1,944,029 ราย ต้นเงินคงเป็นหนี้ จ านวน 75,476 ล้านบาท  เป็นผู้ใช้สิทธิพัก

                   ช าระหนี้ จ านวน 878,555 ราย ต้นเงินคงเป็นหนี้ จ านวน 41,006 ล้านบาท และเป็นผู้ใช้สิทธิ์ลดภาระหนี้

                   จ านวน 1,065,474 ราย  ต้นเงินคงเป็นหนี้ จ านวน 34,470 ล้านบาท  โดยในส่วนของเกษตรกรลูกค้าพัก
                   ช าระหนี้มีเงินกู้ถึงก าหนดช าระในเดือนมิถุนายน 2547  จ านวน 2,177 ล้านบาท เดือนกันยายน 2547

                   จ านวน 969 ล้านบาท เดือนธันวาคม 2547 จ านวน  1,186 ล้านบาท และเดือนมีนาคม 2548 จ านวน

                   22,614 ล้านบาท จ านวนที่เหลือจะทยอยช าระในปีถัดๆ ไป ทั้งนี้จากการท าการประเมินความสามารถใน
                   การช าระหนี้ของลูกค้าพักช าระหนี้ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร  (ธ.ก.ส.) สามารถ

                   จ าแนกกลุ่มที่คาดว่า  จะไม่มีปัญหาในการช าระหนี้เมื่อสิ้นสุดโครงการจ านวน 881,251 ราย  จ านวนหนี้
                   คงเหลือในโครงการจะสามารถช าระหนี้ได้ จ านวน 39,689 ล้านบาท  และกลุ่มที่คาดว่าจะมีปัญหาในการ

                   ช าระหนี้ มีจ านวน 108,295 ราย มีหนี้คงเหลือในโครงการจะมีปัญหาในการช าระหนี้ จ านวน 5,774 ล้าน

                   บาท โดยกลุ่มที่คาดว่าจะมีปัญหาดังกล่าวเป็นกลุ่มลูกค้าที่มีปัญหาหนี้สินหลายทาง ลูกค้าที่ประสบปัญหา
                   ภัยธรรมชาติและใช้เงินกู้ผิดวัตถุประสงค์ ซึ่ง ธ.ก.ส. จะท าการฟื้นฟูพัฒนาศักยภาพและอาชีพลูกค้าเหล่านี้

                   เป็นรายบุคคลเพื่อให้ลูกค้ามีความเข้มแข็งสามารถกลับมาช าระหนี้คืนได้ในที่สุด ส าหรับผลการออมเงิน ณ
                   วันที่ 31 มีนาคม 2547  มีเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการได้ออมเงินผ่านระบบ ธ.ก.ส. ยอดเงินออมคงเหลือ

                   จ านวนเงิน 14,749 ล้านบาท แยกเป็นการออมเงินเกษตรกรพักช าระหนี้ จ านวนเงิน 5,047 ล้านบาท และ

                   เกษตรกรลดภาระหนี้ จ านวนเงิน 9,702 ล้านบาท  และผลการฟื้นฟูเกษตรกรหลังการพักช าระหนี้
                   กระทรวงเกษตรและสหกรณ์  ได้ด าเนินการโดยวิธีการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เกษตรกรด าเนินการ จ านวน
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168