Page 160 -
P. 160

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว


                                                                                                      13-39



                   ด าเนินการด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง องค์การสวนยาง  (อสย.) ซึ่งท าหน้าที่เป็นศูนย์ประสานงาน (Clearing

                   House)  เรื่องต่างๆ ของโครงการฯ จะต้องมีการวางระบบ และการด าเนินงานที่ชัดเจนรัดกุม  และมี
                   ประสิทธิภาพในการติดต่อประสานกับสถาบันการเงิน  เพื่อให้เกษตรกรผู้ปลูกยางพาราเข้าถึงและได้รับ

                   ประโยชน์จากแหล่งทุนอย่างแท้จริง  ส าหรับงบประมาณค่าใช้จ่ายของโครงการฯ ทั้งหมด  ให้กระทรวงเกษตร

                   และสหกรณ์ขอตกลงในรายละเอียดกับส านักงบประมาณต่อไป ทั้งนี้ ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ตลอดจน
                   หน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องเร่งรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้เกษตรกรและผู้ที่สนใจโดยทั่วไปได้ทราบและเข้าใจให้

                   ถูกต้อง ชัดเจน ตรงกันด้วยว่า การด าเนินโครงการฯ นี้ รัฐบาลมีความมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหาที่มีอยู่ในปัจจุบัน
                   ของเกษตรกรผู้ปลูกยางพาราในเขตป่าสงวนแห่งชาติ และป่าที่คณะรัฐมนตรีมีมติให้รักษาไว้เป็นสมบัติของชาติ

                   อยู่เดิม โดยส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงแหล่งทุนทางการเงิน แต่รัฐมิได้สนับสนุนส่งเสริมให้มีการบุกรุก

                   ป่าเพื่อปลูกยางพาราเพิ่มขึ้นใหม่แต่ประการใด  ทั้งการกระท าดังกล่าวถือเป็นความผิดและมีโทษ  ซึ่งจะต้อง
                   บังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัดต่อไป

                           วันที่ 13 มกราคม 2547  คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เสนอให้
                   องค์การสวนยาง (อสย.) ขยายระยะเวลาการใช้วงเงินกู้ของโครงการแทรกแซงตลาดยางพารา ระยะที่ 4, 5

                   และ  6 รวม 5 วงเงิน เป็นเงิน 12,500 ล้านบาท ออกไปอีก 1 ปี เป็นสิ้นสุดวันที่ 31  ธันวาคม 2547 โดย

                   กระทรวงการคลังค้ าประกัน และให้ อสย. น าวงเงินกู้ส่วนที่เหลือของวงเงิน 4,000 ล้านบาท (ระยะที่ 6) ใช้
                   ช าระดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นทุกวงเงินหลังจากวันที่ 31 ธันวาคม 2546  และให้ด าเนินการต่อไปได้ โดยให้รับ

                   ความเห็นของกระทรวงการคลัง ที่เห็นควรให้ อสย. เร่งจัดท ารายงานทางการเงินของโครงการแทรกแซงฯ

                   เพื่อให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินตรวจสอบบัญชีต่อไปและให้ส านักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้เร่งรัด
                   ตรวจสอบ  และรับรองงบการเงินโครงการแทรกแซงฯ  โดยเร็วเพื่อส านักงบประมาณจะได้จัดสรร

                   งบประมาณชดใช้ผลขาดทุนและดอกเบี้ยที่เกิดขึ้นจริงให้  อสย. น าไปช าระคืนหนี้เงินกู้ธนาคารกรุงไทย

                   จ ากัด (มหาชน)  และความเห็นของส านักงบประมาณ  ที่ให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ก าหนดมาตรการ
                   เร่งรัดและก ากับดูแล เพื่อให้ อสย.  รับผิดชอบในการพิจารณาปรับแผนการปฏิบัติงานและเร่งรัดการปิด

                   บัญชีให้ได้จริงทันตามระยะเวลาที่ก าหนด ไปด าเนินการด้วย
                           วันที่ 20 มกราคม 2547  คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติตามมติคณะกรรมการกลั่นกรองเรื่องเสนอ

                   คณะรัฐมนตรี  คณะที่ 2 ที่มีมติเห็นชอบตามที่กระทรวงการคลัง  โดยคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาหนี้สิน

                   เกษตรกร (อกก.) เสนอ  การแก้ไขปัญหาหนี้สินเกษตรกรในโครงการส่งเสริมการเลี้ยงไหม ดังนี้  ให้ส านัก
                   งบประมาณจัดสรรงบประมาณเพื่อชดเชยเงินให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร  (ธ.ก.ส.)

                   จ านวน 225.99 ล้านบาท  ตามมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรในโครงการส่งเสริมการเลี้ยงไหม  เนื่องจาก
                   ความเสียหายที่เกิดขึ้นมิใช่ความผิดของเกษตรกร  แต่เกิดจากสภาวะซึ่งไม่อาจจะควบคุมได้ เช่น ภัย

                   ธรรมชาติ และภัยเศรษฐกิจ เป็นต้น  ส่วนงานภาครัฐที่จะจัดท าโครงการส่งเสริมการเลี้ยงไหมพันธุ์

                   ต่างประเทศขึ้นใหม่ ต้องท าการวิเคราะห์แนวโน้มราคาเส้นไหมดิบที่จะน าเข้าจากต่างประเทศเปรียบเทียบ
                   กับราคาต้นทุนเส้นไหมดิบที่ผลิตภายในประเทศในช่วงเวลาต่างๆ  หากมีภาคเอกชนเข้าร่วมโครงการด้วย
   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164   165