Page 89 -
P. 89

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

                                                                                                          68



                 ตารางที่ 4-11  (ต่อ)


                           รูปแบบ                รูปแบบการได้รับความรู้ (จํานวน/ร้อยละ)   Χ    S.D.    เกณฑ์
                                              มากที่สุด   มาก   ปานกลาง   น้อย   น้อยที่สุด
                 4. ผ่านเกษตรกรผู้นํา           29      44      23       2       5

                                              (28.20)  (42.70)  (22.30)  (1.90)   (4.90)   3.87   1.01   มาก
                 5. โทรทัศน์ ชื่อรายการ         20      36      23      15       9      3.42    1.21    มาก

                                              (19.40)  (35.00)  (22.30)  (14.60)  (8.70)
                 6. ผ่านผู้นําท้องถิ่น (ผู้ใหญ่บ้าน กํานัน  28   23   19   13   20                      ปาน
                 อบต.)                        (27.20)  (22.30)  (18.40)  (12.60)  (19.40)   3.25   1.47   กลาง


                 7. ศึกษาดูงานเกษตรกรที่ประสบ   27      23      23       8      22                      ปาน
                  ความเร็จในการผลิตระบบ                                                 3.24    1.47

                  ปลอดภัย (GAP)               (26.20)  (22.30)  (22.30)  (7.80)  (21.40)               กลาง
                 8. หอกระจายข่าว                 7      24      23      23      26                     ปาน
                                               (6.80)  (23.30)  (22.30)  (22.30)  (25.20)   2.64   1.28   กลาง

                 9. หนังสือพิมพ์  และวารสารทางการ  9    17      13      21      43
                  เกษตร                        (8.70)  (16.50)  (12.60)  (20.40)  (41.70)   2.30   1.39   น้อย

                 10. วิทยุกระจายเสียง            5      17      18      20      43      2.23    1.29    น้อย
                                               (4.90)  (16.50)  (17.50)  (19.40)  (41.70)


                        4.2.3 การยอมรับระบบการผลิตพริกปลอดภัยของกลุ่ม GAP

                        ระบบการผลิตพริกปลอดภัยจะประสบความสําเร็จได้ก็ต่อเมื่อเกษตรกรซึ่งเป็นผู้ผลิตต้นทาง

                 ตัดสินใจยอมรับเทคโนโลยีการผลิต จะต้องมีความรู้ความเข้าใจมาตรฐานระบบการผลิตพริกปลอดภัย และมี

                 การนําความรู้ไปปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด ดังนั้น การทราบถึงเหตุผลในการยอมรับการปลูกพริกระบบ

                 ปลอดภัย ความรู้ความเข้าใจ และระดับการนําความรู้ไปปฏิบัติจริงของเกษตรกร จะช่วยให้ภาคส่วนที่
                 เกี่ยวข้องทราบถึงปัญหาและแนวทางในการร่วมกันในการส่งเสริมสนับสนุนให้เกษตรกรเข้าสู่ระบบการผลิต

                 พริกปลอดภัยที่ได้มาตรฐาน

                  จากการศึกษาถึงเหตุผลที่เกษตรกรยอมรับการปลูกพริกระบบปลอดภัย (        GAP)  พบว่า เกษตรกรให้

                 ความสําคัญถึงความปลอดภัยของตนเองและผู้บริโภคเป็นอันดับแรก รองลงมา ได้แก่ ราคาผลผลิตที่สูงกว่า

                 ต้นทุนการผลิตที่ถูกกว่าเพราะลดการใช้สารเคมี มีตลาดรับซื้อที่แน่นอนและ/หรือมีการประกันราคาขั้นตํ่า
                 จากบริษัท/ตลาด มีความรู้ความเข้าใจในการผลิตพริกระบบปลอดภัย  (GAP) และนโยบายของรัฐ ตามลําดับ

                 (ตารางที่ 4-12)
   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94