Page 84 -
P. 84
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
63
ตารางที่ 4-7 (ต่อ)
แหล่งความรู้ ระดับการใช้ประโยชน์ (จํานวน/ร้อยละ) S.D. ระดับ
มาก ปานกลาง น้อย Χ
3. บรรพบุรุษ 49 15 2 2.71 0.52 มาก
(74.20) (22.70) (3.00)
4. กลุ่ม/ กิจกรรมกลุ่ม 3 3 0.00 2.50 0.55 มาก
(50.00) (50.00) (0.00)
5. ญาติพี่น้อง 30 43 5 2.32 0.59 ปานกลาง
(38.50) (55.10) (6.40)
6. เพื่อนเกษตรกร 31 56 5
(33.70) (60.90) (5.40) 2.28 0.56 ปานกลาง
7. นักวิชาการ/ อาจารย์ 5 9 5
จากสถาบันการศึกษา (26.30) (47.40) (26.30) 2.00 0.75 ปานกลาง
8. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ/นักวิชาการ 7 26 20
ภาคเอกชน (บริษัท/ตัวแทนขายปุ๋ ย/ เคมี) (13.20) (49.10) (37.70) 1.75 0.68 ปานกลาง
9. ร้านขายเคมีการเกษตร 19 54 12 2.08 0.61 ปานกลาง
(22.40) (63.50) (14.10)
10. เอกสารเผยแพร่ สิ่งพิมพ์ต่างๆ 11 19 4 2.21 0.64 ปานกลาง
(32.40) (55.90) (11.80)
11. วารสารทางการเกษตร 9 12 9 2.00 0.79 ปานกลาง
(30.00) (40.00) (30.00)
12. วิทยุ 12 16 4
(37.50) (50.00) (12.50) 2.25 0.67 ปานกลาง
13. โทรทัศน์ 24 40 7
(33.80) (56.30) (9.90) 2.24 0.62 ปานกลาง
4.2.2 ความต้องการและรูปแบบองค์ความรู้/เทคโนโลยีระบบการผลิตพริกปลอดภัย (GAP)
เกษตรกรกลุ่ม GAP ส่วนใหญ่จะผ่านการฝึกอบรมมาแล้ว และยังคงมีความต้องการความรู้ในการ
ปลูกพริกระบบปลอดภัยอยู่ในระดับมาก โดยเฉพาะมีความต้องการมากที่สุด คือ การเพิ่มผลิตและปรับปรุง
คุณภาพพริก และมีความต้องการในระดับมาก 9 เรื่อง เรียงตามลําดับได้แก่ (1) การป้ องกันและกําจัดแมลง
(2) การป้องกันและกําจัดโรค (3) การปลูกพริกระบบปลอดภัย ( 4) การตลาด ( 5) การจัดการดินและการ
ปรับปรุงดิน ( 6) การป้ องกันกําจัดวัชพืช ( 7) วิธีการทําปุ๋ ยชีวภาพ ( 8) วิธีการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์ และ ( 9)
วิธีการให้ปุ๋ ยและการเลือกใช้ปุ๋ ย มีความต้องการในระดับปานกลาง 4 เรื่อง เรียงตามลําดับ ได้แก่ (1) การ
รวมกลุ่มและการบริหารจัดการกลุ่ม (2) วิธีการเพาะกล้า (3) วิธีการปลูก และ (4) กระบวนการ วิธีการ และ
การจัดการหลังการเก็บเกี่ยว ส่วนเรื่องที่มีความต้องการน้อย คือ การแปรรูปผลผลิตพริก เนื่องจากเกษตรกร
ทั้งหมดขายพริกในรูปผลผลิตสด จึงยังไม่มีความต้องการความรู้ในเรื่องนี้ (ตารางที่ 4-8)