Page 83 -
P. 83
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
62
จะเห็นได้ว่าแหล่งความรู้จากบรรพบุรุษจะได้รับมากกว่าความต้องการ ซึ่งอาจจะเป็นความเคยชินใน
การถ่ายทอดความรู้แบบซึมซับทีละน้อยจากรุ่นสู่รุ่น เมื่อวิเคราะห์การนําความรู้ที่ได้รับจากแหล่งต่างๆ ไปใช้
ประโยชน์ ความรู้ที่ได้รับจากบรรพบุรุษและความรู้จากกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม มีระดับการใช้ประโยชน์มาก
ในขณะที่ความรู้จากแหล่งอื่นการนําไปใช้ประโยชน์ได้รับระดับปานกลางเท่านั้น (ตารางที่ 4-7)
ตารางที่ 4-6 ความต้องการความรู้และการได้รับความรู้/เทคโนโลยีการผลิตพริกของเกษตรกรกลุ่ม Non-GAP
n = 108
แหล่งความรู้ ความต้องการความรู้ การได้รับความรู้ ความแตกต่าง
ร้อยละ ลําดับ ร้อยละ ลําดับ ร้อยละ ลําดับ
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร/นักวิชาการ 81.70 6 30.80 8 50.90 3
เกษตร/เกษตรตําบล
2. ผู้นําชุมชน (อบต., กํานัน, ผู้ใหญ่บ้าน 47.50 11 11.50 11 35.60 6
ฯลฯ)
3. บรรพบุรุษ 34.60 13 63.50 5 28.90 13
4. เพื่อนเกษตรกร 93.30 1 89.40 1 3.90 11
5. ญาติพี่น้อง 80.80 7 75.00 3 5.90 10
6. กลุ่ม/ กิจกรรมกลุ่ม 39.40 12 5.80 12 33.60 5
7. นักวิชาการ/ อาจารย์ 82.70 5 18.30 10 64.40 1
จากสถาบันการศึกษา
8. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ/นักวิชาการ 50.00 10 51.00 6 -1.00 12
ภาคเอกชน (บริษัท/ตัวแทนขายปุ๋ ย/ เคมี)
9. ร้านขายเคมีการเกษตร 89.40 2 81.70 2 7.70 9
10. เอกสารเผยแพร่ สิ่งพิมพ์ต่างๆ 86.40 4 32.70 7 53.80 2
11. วารสารทางการเกษตร 65.40 8 28.80 9 36.60 4
12. วิทยุ 54.80 9 30.80 8 17.30 8
13. โทรทัศน์ 87.50 3 68.30 4 19.20 7
ตารางที่ 4-7 ระดับการใช้ประโยชน์จากความรู้/เทคโนโลยีการผลิตพริกของเกษตรกรกลุ่ม Non-GAP
n = 108
แหล่งความรู้ ระดับการใช้ประโยชน์ (จํานวน/ร้อยละ) S.D. ระดับ
มาก ปานกลาง น้อย Χ
1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร/ 9 17 6 2.09 0.69 ปานกลาง
นักวิชาการเกษตร/เกษตรตําบล (28.10) (53.10) (18.80)
2. ผู้นําชุมชน (อบต., กํานัน, 3 4 4
ผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ) (27.30) (36.40) (36.40) 1.91 0.83 ปานกลาง