Page 82 -
P. 82
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
61
ตารางที่ 4-5 (ต่อ)
ระดับการใช้ประโยชน์ (จํานวน/ร้อยละ)
แหล่งความรู้ Χ S.D. เกณฑ์
มาก ปานกลาง น้อย
3. เพื่อนเกษตรกร 23 27 3 2..38 0.60 มาก
(43.40) (50.90) (5.70)
4. ญาติพี่น้อง 5 25 19 2.29 0.65 ปานกลาง
(38.80) (51.00) (10.20)
5. กลุ่ม/ กิจกรรมกลุ่ม 2 5 1 2.13 0.64 ปานกลาง
(25.00) (62.50) (12.50)
6. นักวิชาการ/ อาจารย์ 8 14 3
จากสถาบันการศึกษา (32.00) (56.00) (12.00) 2.20 0.65 ปานกลาง
7. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมฯ/นักวิชาการ 6 18 12
ภาคเอกชน (บริษัท/ตัวแทนขาย (16.70) (50.00) (33.00) 1.83 0.70 ปานกลาง
ปุ๋ ย/ เคมี)
8. ร้านขายเคมีการเกษตร 17 26 4 2.28 0.62 ปานกลาง
(36.20) (55.30) (8.50)
9. เอกสารเผยแพร่ สิ่งพิมพ์ต่างๆ 9 11 7 2.07 0.78 ปานกลาง
(33.30) (40.70) (25.90)
10. วารสารทางการเกษตร 4 10 5 1.95 0.71 ปานกลาง
(21.10) (52.60) (26.30)
11. วิทยุ 7 13 7
(25.90) (48.10) (25.90) 2.00 0.73 ปานกลาง
12. โทรทัศน์ 14 33 7
(25.90) (61.10) (13.00) 2.13 0.62 ปานกลาง
เกษตรกลุ่ม Non-GAP ส่วนใหญ่ (มากกว่า ร้อยละ 80) ต้องการความรู้จากแหล่งต่างๆ เรียงลําดับจาก
มากไปหาน้อย ได้แก่ (1) เพื่อนเกษตร (2) ร้านเคมีการเกษตร (3) โทรทัศน์ (4) เอกสารเผยแพร่และสิ่งพิมพ์
ต่างๆ (5) นักวิชาการ/อาจารย์จากสถาบันการศึกษา (6) นักวิชาการ/เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร และ (7) ญาติ
พี่น้อง (ร้อยละ 93.3, 89.4, 87.5, 86.4, 82.7, 81.7 และ 80.8 ตามลําดับ) เช่นเดียวกับเกษตรกรกลุ่ม GAP แหล่ง
ความรู้จากวิทยุ นักวิชาการ/พนักงานส่งเสริมฯ เอกชน และกลุ่ม/กิจกรรมกลุ่ม ที่เกษตรกรมีความต้องการใน
สัดส่วนที่ตํ่ากว่า (ร้อยละ 54.8, 50.0 และ 39.4 ตามลําดับ)
เมื่อพิจารณาถึงความสอดคล้องระหว่างความต้องการความรู้และการได้รับความรู้ จากแหล่งต่างๆ
พบว่าไม่มีความสอดคล้องกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อดูจากสัดส่วนความต้องการความรู้จากนักวิชาการ/
อาจารย์ นักวิชาการ/เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร และเอกสารเผยแพร่ซึ่งเกษตรกรมีความต้องการสูง แต่กลับ
ได้รับน้อยกว่าความต้องการมาก ความต้องการความรู้และการได้รับความรู้จากกลุ่ม/กิจกรรมกลุ่ม ก็อยู่ใน
สัดส่วนที่น้อยที่สุด (ร้อยละ 39.4 และร้อยละ 5.8) (ตารางที่ 4-6)