Page 134 -
P. 134
113
ตารางที่ 4-29 (ต่อ)
ปัญหา ความรู้และการจัดการที่ต้องการ แนวทางการเชื่อมต่อความรู้และการสื่อสารความรู้
ผู้ส่งออก/ผู้แปรรูป
• การถูกห้ามนําเข้าเนื่องจากผู้ • ต้องการให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องมีการลงโทษขั้น • สํานักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าพืช กรม
ส่งออกบางรายไม่เข้มงวดกับการ เด็ดขาดกับผู้ส่งออกที่ไม่เข้มงวดกับการควบคุม วิชาการเกษตรมี เอกสารเผยแพร่ กฏ ระเบียบ เงื่อนไข การ
ควบคุมมาตรฐานความปลอดภัยทํา มาตรฐานความปลอดภัย ส่งออกสินค้าเกษตรสําหรับสหภาพยุโรป ราชอาณาจักร
ให้เวลาตรวจพบสารเคมีถูกห้าม • ต้องการให้รัฐต่อรองกับประเทศผู้นําเข้าให้ห้ามนําเข้า นอร์เวย์ สาธารณรัฐไอซ์แลนด์ สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย
นําเข้าทั้งประเทศ เฉพาะผู้ส่งออกรายที่ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ใช่ห้ามการ นิวซีแลนด์ เกาหลี สาธารณรัฐประชาชนจีน และญี่ปุ่น
• กระบวนการตรวจสารเคมีตกค้าง นําเข้าจากผู้ส่งออกทั้งหมด ซึ่งส่วนใหญ่ปฏิบัติตาม อย่างไรก็ตาม เนื่องจากกฏ ระเบียบ หรือเงื่อนไขในการ
ในผลผลิตล่าช้า มารตรฐานความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด ส่งออกสินค้าเกษตรมีการเปลี่ยนแปลงหรือออกมาใหม่อยู่
• ห้องปฏิบัติการตรวจสารเคมีไม่ • เทคนิคในการตรวจสารเคมีตกค้างที่มีความรวดเร็วกว่า เรื่อยๆ การเผยแพร่ความรู้ผ่านเอกสารเผยแพร่ จึงไม่ โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เพียงพอ แบบเดิม หรือสามารถลดบางขั้นตอนในการตรวจสอบ เหมาะสม ควรเปลี่ยนไปเผยแพร่ทาง Website จะทําให้ผู้
• แบกรับค่าใช้จ่ายในการตรวจ ได้หรือไม่ ส่งออกได้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันดีกว่า หรือหากจะทําในเชิงรุก
สารเคมีตกค้าง • จะรวมกลุ่มผู้ผลิตพริกในระบบปลอดภัยเพิ่อลดต้นทุน กรมวิชาการเกษตรมีฐานข้อมูลผู้ส่งออกอยู่แล้ว หาก
• เกษตรกรมี 2 มาตรฐาน ถ้าเป็น ค่าใช้จ่ายในการตรวจสารเคมีตกค้างได้อย่างไร ประเทศใดมีการเปลี่ยนแปลงกฏ ระเบียบ หรือเงื่อนไข
พริกส่งออกจะไม่ใช้สารเคมี/ใช้ใน • จะปรับเปลี่ยนเกษตรกรให้เข้าสู่ระบบมาตรฐานความ ใหม่ๆ สามารถแจ้งผู้ส่งออกได้ทันทีทาง e-mail
ปริมาณน้อยและเว้นช่วงระยะเวลา ปลอดภัยได้อย่างไร • จังหวัดนครปฐมควรมีนโยบายให้เกษตรกรมีการรวมกลุ่ม
เก็บเกี่ยว แต่ถ้าเป็นพริกขายใน เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการตรวจสารเคมีตกค้าง ซึ่งในอนาคต
ประเทศจะใช้สารเคมี อาจจะต้องออกร่วมกับผู้ส่งออก/ออกเอง
113