Page 65 -
P. 65
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การจัดการเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร: กรณีศึกษา
61
ตารางที่ 1 ผลประหยัดสุทธิเฉลี่ยตลอดระยะเวลา 5 ปี
ผลประหยัดสุทธิ (บาท)
ผลประหยัด
ปีที่ ปีพ.ศ. แบบง่าย แบบคิดดอกเบี้ย
(บาท)
Simple payback Discounted payback
0 2549 -39,102,170 -39,102,170
1 2550 13,173,048 -25,929,122 -26,556,410
2 2551 12,678,571 -13,250,551 -15,056,572
3 2552 12,628,571 -621,980 -4,147,538
4 2553 12,628,571 12,006,591 6,242,019
5 2554 12,460,714 24,467,305 16,005,314
ระยะเวลาคืนทุน 4 ปี 4 ปี
สรุป
การจัดหาวัตถุดิบที่เหมาะสมกับสถานการณ์สามารถลดต้นทุนในการจัดซื้อวัตถุดิบได้เป็นเงินประมาณ
13.17 ล้านบาทต่อปี เมื่อเปรียบเทียบกับแผนการผลิตเดิม โดยบริษัทจะต้องมีความพร้อมที่จะท าการเก็บ
กากน้ าตาลทั้งหมดเพื่อน าไปใช้งานในช่วงเวลาที่เหมาะสม การน าข้อมูลที่เกี่ยวข้องมาท าการวิเคราะห์และจัดการ
อย่างมีประสิทธิภาพ โดยด าเนินการบนพื้นฐานของหลักวิชาการที่ถูกต้อง ร่วมกับการใช้ ระบบสนับสนุนการ
ตัดสินใจด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based decision support system) นั้นมีความส าคัญต่อผู้ประกอบการธุรกิจ
โดยทั่วไป สามารถช่วยให้การวางแผนขององค์กรธุรกิจมีแนวทางด าเนินงานอย่างมีเป้าหมาย มีประสิทธิภาพและ
บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้งานมีความสะดวกทั้งในการจัดการกับข้อมูลดิบและการใช้โปรแกรม
รวมทั้งการแสดงผลเปรียบเทียบที่ชัดเจนเพื่อตัดสินใจ แต่ก็อาจมีบางส่วนที่ผู้ใช้งานควรใช้ดุลยพินิจเสริมก่อนการ
ค านวณด้วยโปรแกรม เช่น หลังจากที่โปรแกรมได้เลือกช่วงเดือนที่มีราคาของมันเส้นสูงสุดไว้แล้ว ผู้ใช้งานต้อง
พิจารณาว่าแต่ละเดือนนั้นมีจ านวนวันกี่วัน จากนั้นจึงน าจ านวนวันเข้าไปแก้ไขในสูตรการค านวณ หรือในกรณีที่
ช่วงของการใช้มันเส้นถูกแบ่งออกเป็น 2 ช่วง เดือนแรกของการใช้มันเส้นจะคาบเกี่ยวกับเดือนของการล้างเครื่อง
และซ่อมบ ารุง ซึ่งจะต้องพิจารณานับวันที่ของเดือนที่เหลือเพื่อให้การค านวณราคาในแต่ละช่วงมีความ
คลาดเคลื่อนน้อยที่สุด และท าให้การค านวณของโปรแกรมที่ตั้งไว้สามารถให้ค าตอบที่ดีที่สุดกับผู้ใช้งานได้
การใช้ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการบริหารจัดการที่สมบูรณ์นั้น หลังจากที่ได้ใส่ข้อมูลดิบที่จ าเป็น
เข้าไปในโปรแกรมแล้ว ควรให้ผู้ใช้งานเข้าไปเกี่ยวข้องในขั้นตอนการค านวณน้อยที่สุด หรือไม่ต้องเกี่ยวข้องใดๆ
โดยระบบ สนับสนุนการ ตัดสินใจในการจัดการวัตถุดิบที่สร้างขึ้นมานี้สามารถพัฒนาให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้นได้โดย
การศึกษาและวางโครงสร้างข้อมูลให้สอดคล้องกับการเลือกใช้ค าสั่งของ Excel ในแต่ละสถานการณ์ให้เหมาะสม
จะช่วยให้งานดังกล่าวสามารถด าเนินการต่อเนื่องได้ด้วยโปรแกรมที่ตั้งไว้ โดยที่ผู้ใช้งานเข้าไปเกี่ยวข้องในช่วง
ของการใส่ข้อมูลดิบเท่านั้น
จากเวลาที่มีจ ากัดในการทดลองใช้งาน โดยเฉพาะกับข้อมูลที่มีลักษณะพิเศษจึงอาจท าให้พบข้อบกพร่อง
เมื่อน าไปใช้งานในสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป โดยเฉพาะงานวิจัยนี้มีการใช้เทคนิคการพยากรณ์ที่มีการคาดการณ์
ล่วงหน้า 12 เดือนมาเป็นส่วนหนึ่งของการท างาน ดังนั้นโอกาสที่จะให้ผลการค านวณคลาดเคลื่อนจึงสามารถ
เกิดขึ้นได้ โดยเฉพาะในเรื่องของราคามันส าปะหลังและอ้อยซึ่งเป็นพืชเศษฐกิจที่ส าคัญของประเทศที่อาจมี
ผลกระทบจากนโยบายหรือระเบียบ/กฎหมายที่เปลี่ยนแปลง เนื่องจากเหตุผลทางการเมืองของรัฐบาล ดังนั้นข้อมูล
ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรมเกษตร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์