Page 14 -
P. 14

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                              สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                  บทที่ 1   สัทวิทยาเพิ่มพูน   7

                                 ทฤษฎีสัทวิทยาเพิ่มพูนเริ่มโดย  มอรริส แฮลี (Morris  Halle)  ในป  ค.ศ.1959   ในสหรัฐอเมริกา

                           และเริ่มมีบทบาทสําคัญหลังจากหนังสือ The Sound Pattern of English (SPE)  ซึ่ง นอม ชอมสกี้
                           ( Noam  Chomsky )  และ มอรริส แฮลี  (Morris Halle) รวมกันเขียนและตีพิมพในป ค.ศ. 1968


                                 แฮลี (Halle,1959)  ในการวิเคราะหภาษารัสเซีย  เสนอวา  หนวยเสียงประกอบดวยสัทลักษณ
                           (phonetic features)  ตางๆ และการเขียนกฎทางเสียงสามารถเขียนดวยสัทลักษณแทนที่จะเขียนดวยหนวย
                           เสียงทั้งหนวย  ซึ่งจะทําใหกระทัดรัดและไดกฎเกณฑที่ครอบคลุมการเปลี่ยนแปรเสียงที่เกิดกับหนวยเสียง

                           อื่นๆ ในลักษณะเดียวกัน

                                 ตัวอยางเชน  ในภาษารัสเซีย (Russian)  เสียงกักโฆษะและอโฆษะ  /d/,  /b/,  /t/,  /p/ เปนหนวย
                           เสียงอิสระ  ขณะที่เสียงกึ่งเสียดแทรกอโฆษะ  /ts/ และ  /t5/  มีเสียงโฆษะ [dz] และ  [d< ]  เปนเสียงแปร
                           ของหนวยเสียงเดียวกันตามลําดับ  เสียงกักอโฆษะจะเปลี่ยนแปรเปนเสียงโฆษะในบริบททายคําเมื่อตาม

                           ดวยเสียงกักโฆษะซึ่งเปนพยัญชนะตนของคําใหม  และเสียงกึ่งเสียดแทรกอโฆษะจะแปรเปนเสียงโฆษะ
                           ในบริบทเดียวกันดังนี้

                                 (1)    t ,  p   →    d , b   /           c
                                                                        w  -son

                                                                          +vce
                           และ   (2)    ts , t5  →    dz , d<   /         c

                                                                         w  -son
                                                                          +vce

                                 ในแนววิเคราะหแบบทฤษฎีสัทวิทยาโครงสราง  การเปลี่ยนแปรของเสียงกักและเสียงกึ่งเสียด
                           แทรกจะจัดเปนคนละกระบวนการ  กรณีเสียงกักจัดเปนการแทนที่หนวยเสียง ( phonemic substitution )
                           หรือการเปลี่ยนแปลงหนวยเสียง  ( phonemic change ) และกรณีเสียงกึ่งเสียดแทรกจะจัดเปนการแปรเสียง

                           ของหนวยเสียงเดียวกัน  ( allophonic change หรือ phonetic change )  แตแฮลีเสนอวาเหตุการณทั้งสอง
                           เปนกระบวนการเดียวกัน  คือ การเปลี่ยนแปลงสัทลักษณอโฆษะมาเปนโฆษะ (Clark & Yallop, 1994 :

                           129-130) ดังนี้

                                 (3)    c      →      [+vce]       /             c

                                        -son                                   w  -son
                                        -vce                                     +vce
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19