Page 11 -
P. 11

โครงการพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี




                           4   สัทวิทยา : การวิเคราะหระบบเสียงในภาษา                                                                                  บทที่ 1   สัทวิทยาเพิ่มพูน

                                 1.1.2  หนวยเสียง  (Phonological  Representation หรือ Phoneme)


                                        หนวยเสียง  คือเสียงในลักษณะที่เปนนามธรรม  ซึ่งเปนหนวยเอกเทศ (discrete unit)
                           แตละหนวยเสียงมีคุณสมบัติที่แตกตางจากหนวยเสียงอื่นๆ ในหนาที่และการสัมพันธกับความหมาย

                           ในระบบเสียงของภาษา  หนวยเสียงแตละหนวยเปนจริงในทางจิตวิทยาคือมีตัวตนจริง
                           (psychologically real)  ในสมองของผูพูดและผูฟง  และมีคุณสมบัติที่ไมเปลี่ยนแปร (invariant)  คือเปน

                           หนวยที่มีคุณลักษณะที่คงที่ในสมองของผูพูดและผูฟง

                                        ความแตกตางระหวางเสียงในลักษณะรูปธรรม  (phonetic  representation)  และหนวย

                           เสียงในลักษณะนามธรรม  (phonological  representation)  เปนดังนี้

                                             เสียง                                 หนวยเสียง
                                       (Phonetic  representation)       (Phonological  representation หรือ Phoneme)
                           1  คือเสียงที่ผูพูดเปลงออกมาจริง  ซึ่งอาจแปรตามเสียงในบริบท  1  คือเสียงที่เปนนามธรรมในสมองที่ผูพูดตั้งใจจะเปลง
                           2  คือกายภาพของเสียงที่เกิดจริงซึ่งอาจแปรตามเสียงในบริบท   2  ไมแปรผันในสมองของผูพูดและผูฟง
                           3  คือเสียงที่ปอนเขาระบบโสตของผูฟง    3  คือหนวยเสียงที่ผูฟงรับรูจากการตีความ
                                                                        จากเสียงที่ไดยิน

                                 นักสัทวิทยาเพิ่มพูนใชเครื่องหมาย  [   ]   สําหรับเสียงที่พูดหรือไดยิน และใชเครื่องหมาย  /    /
                           สําหรับหนวยเสียง  แตปจจุบันอาจจะไมนิยมใชเครื่องหมาย    /     /    สําหรับหนวยเสียงและจะใช
                           เครื่องหมาย  [   ]  เดียวกัน  สําหรับเสียงและหนวยเสียง


                                 ตัวอยางเชน  ‘  can’t  ’  ในภาษาอังกฤษ (English)  มีรูปลึกของหนวยเสียง (ในสมองของผูพูด)

                           ดังนี้ /  kænt /  แตในการออกเสียงจริงเสียงที่พูดและที่ไดยินจะมีสระ [æ¿]  ที่เปนเสียงกึ่งนาสิกตามบริบท
                           ดังนี้  [kæ¿nt]  เสียง  [æ¿ ]  จัดเปนเสียงแปรของหนวยเสียง / æ /  และผูฟงรับรูและตีความเปน / kænt /

                           ‘ can’t  ’ ไดถูกตอง

                                        ยังมีเสียงแปรในอีกลักษณะหนึ่งที่มีการแปรเสียงตามบริบทเปนเสียงตั้งแต 2  เสียง

                           ขึ้นไป  แตเสียงแปรเหลานี้เปนหนวยเสียงเดียวกัน  ตัวอยางเชนเสียง [ p ] และ [ p ] ในภาษาอังกฤษ ตาง
                                                                                       h
                           ก็เปนเสียงแปรของหนวยเสียง / p /   เดียวกัน  โดยแยกบริบทที่เกิดของเสียงแปรแตละเสียงอยางชัดเจน

                           คือเสียง [p ] จะเกิดในตําแหนงตนพยางคเสมอ  เชน  ‘pain ’ ออกเสียงเปน    [p ]  หรือ ‘pie’ ออกเสียง
                                                                                      h
                                   h
                           เปน [p ]  และเสียง [p]  จะเกิดในตําแหนงหลังเสียง [s]  ในตนพยางคเสมอเชน  ‘Spain’ ออกเสียงเปน
                                h
                           [p ] หรือ  ‘spy’  ออกเสียงเปน [p]
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16