Page 75 -
P. 75
โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ตารางที่ 3 แสดงลักษณะกาลกิณีและคติความเชื่อ (ต่อ)
ลักษณะ/คำอธิบาย คติ:ความเชื่อ
5.6 อมถ่าน(ลิ้นดำ) อาจเป็นทั้งข้างบนและข้าง ไม่เป็นมงคลกับเจ้าของผู้เลี้ยง
ล่าง ลิ้นจะมีจุดสีดำ ส่วนใหญ่จะอยู่ใต้ลิ้น สังเกต
ยาก ถ้าไม่อ้าปากและใช้มือล้วงดู(คำ, 2553)
5.7 ขาทก ขาถอน ขากระตุก ส่วนใหญ่จะกระตุก เดินไม่งาม ทรงตัวไม่ดี ไม่เหมาะที่จะใช้งาน ใครที่
ตอนเช้ามืด และถ้าเดินไปสักพักบางตัวอาการจะ ซื้อควายขาทก ก็จะถือว่าเป็นการเสียเหลี่ยมมาก
หายไป สังเกตไม่เห็น(สอดคล้องทุกภาค) สำหรับพ่อค้าควาย
5.8 นอนกรน/นอนคราง เป็นลักษณะไม่เป็นมงคล เจ้าของจะเดือดร้อน โดย
ถ้ากรนในจังหวะหายใจออกไม่ดี แต่ถ้าเป็นจังหวะ
หายใจเข้าถือว่าไม่เป็นไร
(บัวโลม, 2553)
5.9 ทามทานแลบลิ้น(งูสามเหลี่ยมแลบลิ้น) ไม่เป็นมงคล เลี้ยงไม่อ้วน ซึ่งเป็นไปได้ว่าอาจเป็น
อุจจาระติดก้นเป็นวงสีขาว (คำ,ประเทือง, 2553) พยาธิไส้เดือน ทำให้เป็นขี้ปูน(ผู้เขียน)
5.10) บั้งลึงค์ก่าน(ก่าน: คาดขาว) และถุงหุ้มลูก เป็นควายดื้อชนลูกควาย และชนคน มักเลี้ยง
อันฑะก่าน คือมีสีขาวคาดที่ลึงค์หรืออัณฑะ ไม่เชื่อง
5.11 ท้องแร่ คือ หนังท้องมีสีดำ ไม่เป็นมงคล เลี้ยงไม่อ้วน จะผอมลงเรื่อยๆ
(จรัญ, 2527) สอดคล้องกับปราชญ์กลุ่มจังหวัด
สกลนคร
5.12 ลูกอัณฑะบิด /ขอบหูดำ/ปลายลึงค์ดำ และ นิสัยดื้อ ชอบชน ถ้าเป็นควายชน จะชนเก่ง มี
ตาปลาดุก (กลุ่มภูมิปัญญาอีสาน,กลาง,ใต้) ความอดทน และจะเป็นควายที่ไว้ใจไม่ได้ และ
ทำร้ายเจ้าของหรือผู้เลี้ยงได้
5.13 แทงบ้อง รวมกับอมลึงค์ คือควายที่แทง ถือว่าเป็นควายกาลี จะนำความลำบากมาให้
ลึงค์(แทงบ้อง)ออกมา แล้วก้มไปใช้ปากอมลึงค์ เจ้าของตลอดเวลา(วิลัย,ล้วน, 2553)
ของตนเอง
5.14 ฟันหน้าห่างเป็นรู เรียก ประตูผี เลี้ยงแล้วมักจะถูกขโมย(ล้วน, 2553)
5.15 คุยแซก หรือตะกุยแทรก กระดูกที่โผล่ขึ้น เลี้ยงไม่อ้วน ลักษณะนี้จะเกิดตั้งแต่ที่เป็นลูกควาย
มาข้างกระดูกก้นกบ 2 ข้าง ไม่ใช่ผอมแล้วเกิด (ล้วน, บัวโลม, 2553)
การคัดเลือกควายไทย ภูมิปัญญา 65 การคัดเลือกควายไทย