Page 22 -
P. 22
์
ิ
ิ
ื
ิ
ิ
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
ั
็
่
่
่
่
็
มาตรา 901 อีก เพราะเปนทีชัดเจนอยูในตัวเช็คนั้นแล้วว่าจ าเลยที 3 ลงลายมือชือโดยเปนผู้กระท าการ
แทน เมื่อต่อมาเช็คพิพาทถูกปฏิเสธการจ่ายเงินจ าเลยที 3 ก็ไม่ต้องรับผิดตามเช็คนั้นต่อโจทก์
่
ค าพิพากษาฎีกานีท าให้เห็นว่ามีข้อเท็จจริงปรากฏชัดเจนว่า เช็คนีเปนของนิติบุคคล (จ าเลยที่
้
็
้
็
1) เพราะมีการระบุชือของนิติบุคคลไว้ด้านบนซ้าย โจทก์ซึ่งเปนคูสัญญาย่อมเข้าใจได้ว่า เช็คนีเปนของ
็
่
่
้
่
็
นิติบุคคล ดังนั้น การลงนามของจ าเลย 3 จึงเปนการลงนามในฐานะกรรมการซึงกระท าการแทนนิติ
บุคคล จ าเลยที 3 จึงไม่ต้องรับผิดตามเช็คต่อโจทก์
่
้
2.2 กำรโอนตั๋วเงินและผูทรงตั๋วเงิน
้
้
เมือคูสัญญาได้ตกลงช าระหนีโดยการใช้ตั๋วเงินแล้วลูกหนีที่มีหนาที่ช าระเงิน เช่น บริษัท BKL
้
่
่
้
้
ตามตัวอย่ำงท 1.2 ทีจะต้องช าระหนี บริษัทฯ จะต้องออกตั๋วเงิน และส่งมอบตั๋วเงินนั้นให้กับเจ้าหนีของ
ี่
่
ตน ตามกฎหมายตั๋วเงิน เจ้าหนีผู้รับมอบตั๋วเงินจะมีฐานะเปน “ผู้ทรง (holder)” ตั๋วเงิน โดยผู้ทรงตั๋วเงิน
้
็
้
28
นีจะมีสิทธิหลัก 2 ประการ คือ (1) สิทธิในการนาตั๋วไปเรียกเก็บเงิน และ (2) การโอนสิทธิในการเรียก
่
29
ุ่
่
้
้
้
เก็บเงินนั้นไปให้บุคคลอืน เนือหาในส่วนนีจะมงเนนไปที่การโอนสิทธิในการเรียกเก็บเงิน เนืองจาก
้
็
ประเด็นนมีความเกียวข้องกับการเปนผู้ทรงโดยชอบด้วยกฎหมาย
่
ี
2.2.1 กำรโอนตั๋วเงิน
่
้
การนาตั๋วเงินไปโอนต่อนั้นขึนอยู่กับชนิดของตั๋วเงิน ซึงแบ่งตามการระบุตัวผู้รับเงิน โดยแบ่งได้
็
เปน (1) ตั๋วชนิดระบุชื่อ และ (2) ตั๋วชนิดผู้ถือ โดยตั๋วเงินทั้งสามประเภทสามารถออกเปนตั๋วชนดระบุชือ
็
ิ
่
ได้ แต่ตั๋วชนิดผู้ถือจะใช้เฉพาะตั๋วแลกเงิน และเช็คเท่านั้น ในหัวข้อ 2.2.1.1 ผู้เขียนจะอธิบายวิธีการ
30
โอนตั๋วเงินชนิดระบุชื่อ และในหัวข้อ 2.2.1.2 ผู้เขียนจะอธิบายวิธีการโอนตั๋วเงินชนิดผู้ถือ
่
ุ
2.2.1.1 กำรโอนตั๋วเงินชนิดระบชอ
ื
่
หลักทั่วไปในการโอนตั๋วเงินชนิดระบุชื่อบัญญัติอยู่ในมาตรา 917 วรรคแรกซึงบัญญัติว่า
่
อันตั๋วแลกเงินทุกฉบับ ถึงแม้ว่าจะมิใช่สั่งจายให้บุคคลเพื่อเขาสั่งก็ตาม ท่านว่าย่อมโอนให้แก่กัน
ได้ด้วยสลักหลังและส่งมอบ
ิ
28 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์ มาตรา 941 “อันตั๋วแลกเงินนั้น ย่อมจะพึงใช้เงินในวันถึงก าหนด และถึงก าหนด
วันใดผู้ทรงต้องนาตั๋วเงินไปยื่นเพื่อให้ใช้เงินในวันน้น”
ั
ิ
29 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชย์ มาตรา 917 และมาตรา 918
30 โปรดดูมาตรา 909 (6) และ 988(4) ทั้งตั๋วแลกเงิน และเช็คสามารถระบุให้จ่ายเงินแก่ผู้ถือได้
21
เอกสารประกอบการสอนวิชากฎหมายว่าด้วยตั๋วเงิน โดย อ. ดร. ชีวิน มัลลิกะมาลย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์