Page 34 -
P. 34

ิ
                                      ิ
                                   ้
                       คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร                   ์
                                  ู
                                                                      ุ
                                                       ู
                                                                            
                                                           วิจัยธุรกิจที่คุณทำได: จากการเริ่มตนสูความสำเร็จ     19
                          3. เพื่อสำรวจวิธีการพัฒนาความสามารถในการทำงานร.วมกันในทีมที่มีความหลากหลายทาง

                   วัฒนธรรม


                          ตัวอยIางที่ 3 ปxญหาการวิจัย: การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการซื้อของผู@บริโภคหลังการแพรIระบาด
                   ของโควิด-19



                          วัตถุประสงคgหลัก เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการซื้อของผู]บริโภคหลังการแพร.ระบาดของโค
                   วิด-19


                          วัตถุประสงคgยIอย


                          1. เพื่อวิเคราะหSการเปลี่ยนแปลงในพฤติกรรมการซื้อสินค]าทางออนไลนSและออฟไลนS


                          2. เพื่อศึกษาความสัมพันธSระหว.างความกังวลด]านสุขภาพกับพฤติกรรมการซื้อของผู]บริโภค



                          3. เพื่อสำรวจการปรับตัวของธุรกิจต.อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการซื้อของผู]บริโภค


                          แต.มักจะพบการเขียนวัตถุประสงคSนั้นไม.ได]มีการแยกวัตถุประสงคSหลักและวัตถุประสงคSย.อย  เช.น
                   Suriyakulnaayudhya และคณะ (2015) ได]เขียนวัตถุประสงคSของการวิจัยว.า The influence of locus of

                   control on occupational stress นั่นหมายถึง วัตถุประสงคSของงานวิจัยนี้คือการศึกษาอิทธิพลของการ

                   ควบคุมภายในที่มีผลต.อความเครียดในงาน


                          1.3.1.2 การตั้งเปnาหมายที่สามารถวัดผลได^และมีความชัดเจน



                          การตั้งเปาหมายที่สามารถวัดผลได]และมีความชัดเจนเปfนขั้นตอนสำคัญในการสร]างความน.าเชื่อถือ

                   ให]กับการวิจัย โดยเฉพาะในแง.ของการบริหารธุรกิจซึ่งมักต]องการผลลัพธSที่นำไปใช]งานได]จริง เปาหมายท ี่

                   ชัดเจนจะช.วยให]ผู]วิจัยสามารถวางแผนการเก็บข]อมูลและการวิเคราะหSที่สอดคล]องกับความต]องการขององคSกร

                   ตัวอย.างเช.น หากเปาหมายคือการเพิ่มความพึงพอใจของพนักงาน ควรกำหนดว.าการวัดความพึงพอใจจะทำ

                   อย.างไร เช.น ผ.านแบบสอบถามหรือการสัมภาษณS และกำหนดตัวชี้วัดที่ชัดเจน เช.น คะแนนความพึงพอใจโดย

                   เฉลี่ยหรืออัตราการลาออกที่ลดลง (Sekaran & Bougie, 2020)


                          การตั้งเปาหมายที่ชัดเจนยังรวมถึงการกำหนดเกณฑSความสำเร็จหรือเปาหมายทางตัวเลขที่สามารถ

                   ประเมินได] เช.น การลดอัตราการลาออกของพนักงานลง 10% ภายในระยะเวลาหนึ่งปÆ หรือการเพิ่มคะแนน

                   ความพึงพอใจของพนักงานจาก 3.5 เปfน 4.0 ภายในหกเดือน เปาหมายที่วัดผลได]เช.นนี้จะช.วยให]การ

                   ประเมินผลเปfนไปอย.างเปfนระบบและช.วยให]ผู]บริหารองคSกรทราบถึงความสำเร็จหรือข]อควรปรับปรุง

                   (Saunders et al., 2019)
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39