Page 42 -
P. 42

ุ
                                                                                ั
                                                    ิ
                                                                ิ
                                              ิ
                                                 ์
                                 ื
                                    ิ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                                                                        26

                                 1.2)  มาตรฐาน ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินคุณภาพ
                                    1.2.1)  มาตรฐานการอุดมศึกษา ต้องด าเนินการให้เป็นไปตามมาตรฐานและ
                  หลักเกณฑ์อื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
                                                                        ื่
                  ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มาตรฐานสถาบันอุดมศึกษามาตรฐานเพอการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.
                  หรือกรอบการปฏิบัติราชการตามมิติด้านต่างๆ ของส านักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.)

                        ี
                  ในกรณมหาวิทยาลัยของรัฐ เป็นต้น
                                    1.2.2)  ก าหนดตัวบ่งชี้เป็น 2 ประเภท คือ ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณและตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ

                                            ▪  ตัวบ่งชี้เชิงปริมาณอยู่ในรูปของร้อยละหรือค่าเฉลี่ย ก าหนดเกณฑ์การ

                  ประเมินเป็นคะแนนระหวาง 1 – 5 โดยเป็นค่าต่อเนื่อง (มีจุดทศนิยม) ส าหรับการแปลงผลการด าเนินงาน
                  ตามตัวบ่งชี้ เป็นคะแนนโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์โดยแต่ละตัวบ่งชี้จะก าหนดค่าร้อยละหรือค่าเฉลี่ยที่

                  คิดเป็นคะแนนเต็ม 5 ไว้

                                            ▪  ตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพ จะระบุเกณฑ์มาตรฐานเป็นข้อๆ ก าหนดเป็น 5 ระดับ

                  มีคะแนนตั้งแต่ 1 – 5 จะมีทั้งการนับจ านวนข้อและระบุว่าผลการด าเนินงานได้กี่ข้อและได้คะแนนเท่าใด
                  กรณีที่ไม่ด าเนินการใดๆ หรือด าเนินการไม่ครบที่จะได้ 1 คะแนนให้ถือวาได้ 0 คะแนน



                            2) กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามวงจรคุณภาพ 4 ขั้นตอน คือ
                               2.1) การวางแผน (Plan) เริ่มกระบวนการวางแผนการประเมินตั้งแต่ต้นปีการศึกษา โดยน า

                  ผลการประเมินปีก่อนหน้านี้มาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนซึ่งต้องเก็บข้อมูลตั้งแต่เดือนมิถุนายน กรณีใช้

                  ระบบเปิด-ปิดภาคการศึกษาแบบเดิม หรือตั้งแต่เดือนสิงหาคม กรณีใช้ระบบเปิด-ปิดภารการศึกษาตาม
                  อาเซียน

                              2.2) การด าเนินงานและเก็บข้อมูล (Do) ด าเนินงานและเก็บข้อมูลบันทึกผลการด าเนินงาน
                  ตั้งแต่ต้นปีการศึกษา คือ เดือนที่ 1- เดือนที่ 12 ของปีการศึกษา (เดือนมิถุนายน-พฤษภาคม ปีถัดไป หรือ

                  เดือนสิงหาคม-กรกฎาคม ปีถัดไป)

                              2.3) การประเมินคุณภาพ (Check/Study) ด าเนินการประเมินคุณภาพในระดับหลักสูตร
                  คณะ และสถาบัน ระหว่างเดือนมิถุนายน-สิงหาคมหรือเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ของปีการศึกษาถัดไป

                              2.4) การเสนอแนวทางการปรับปรุง (Act)  วางแผนปรับปรุงและด าเนินการปรับปรุงตามผล

                  การประเมิน โดยคณะกรรมการบริหารระดับหลักสูตร ระดับคณะ และระดับสถาบัน โดยน าข้อเสนอแนะ
                  และผลการประเมินของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในมาวางแผนปรับปรุงการด าเนินงาน (รวมทั้ง

                  ข้อเสนอแนะของสภามหาวิทยาลัย) มาจัดท าแผนปฏิบัติการประจ าปีและเสนอตั้งงบประมาณปีถัดไป หรือ

                  จัดท าโครงการพัฒนาและเสนอใช้งบประมาณกลางปีหรืองบประมาณพิเศษก็ได้
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47