Page 20 -
P. 20
ิ
ิ
ิ
์
ั
ิ
ื
ุ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
13
4. การออกแบบขั้นต้นและการประกอบขึ้นเป็นรูปทรง (Sketch design, preliminary) เป็น
การแสดงแนวคิดที่ปรากฏลงในผังเริ่มแรก โดยมีรูปทรง และสัดส่วน และองค์ประกอบด้านต่างๆ ให้
ตรงกับความต้องการใช้งานและมีความรูปทรงสัดส่วนต่างๆ ใกล้เคียงกับมาตราส่วนของจริง
4.1 ข้อพิจารณาการออกแบบขั้นต้น
ื้
4.1.1 ควรก าหนดสัดส่วนรูปทรง ของพนที่ใช้งาน และองค์ประกอบต่างๆ
ื่
ให้ ใกล้เคียงกับมาตราส่วนจริงให้มากที่สุด เพอที่จะได้ทราบว่า พนที่ และองค์ประกอบต่างๆ นั้น
ื้
เพยงพอต่อการใช้งานจริงหรือไม่ เช่น หากต้องการพนที่ส าหรับจอดรถยนต์ประมาณ 10 คัน
ื้
ี
เมื่อท าแบบขั้นต้นพอทราบได้ว่ามีพื้นที่เพียงพอหรือไม่ ถ้าก าหนดขนาดพื้นที่ในการจอดรถตามมาตรา
ส่วนที่เป็นจริง
ิ
ิ
4.1.2 การพจารณาการออกแบบขั้นต้นนี้เป็นการพจารณาในภาพรวมทั้ง
ื้
ื้
พนที่ว่าสามารถบรรจุสิ่งต่างๆ ในการใช้งานพนที่ได้มากน้อยเพยงใด เพอที่จะมีการปรับลด หรือเพม
ิ่
ื่
ี
ให้เหมาะสมก่อนการเขียนผังแม่บท
4.1.3 แบบขั้นต้นที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงนี้ยังเป็นแบบที่ใช้ประมาณ
ราคาการ ด าเนินการก่อสร้างภูมิทัศน์และองค์ประกอบต่างๆ ในพนที่ด้วย เพอให้การก่อสร้างไม่เกิน
ื่
ื้
ราคาที่ก าหนดไว้ เพราะยังสามารถปรับแต่งรูปแบบต่างๆ ก่อนการเขียนผังแม่บทไปน าเสนองาน
5. การออกแบบขั้นสุดท้ายหรือการเขียนผังแม่บท (Master plan) เป็นแบบแสดง
ี
รายละเอยดต่างๆ ในด้านของรูปทรง ขนาด จ านวน ประเภท และต าแหน่งของ องค์ประกอบต่างๆ
อย่างถูกต้องแม่นย า ตรงตามวัตถุประสงค์และมาตราส่วนจริง (Scale) การเขียนแบบมักใช้เครื่องมือ
หรือใช้โปรแกรมคอมพวเตอร์ช่วยในการเขียน เพอให้มีความคมชัดอาจมีการระบายสีให้มีความ
ื่
ิ
สวยงามใกล้เคียงกับความเป็นจริง มีการชี้จุดอธิบายองค์ประกอบของส่วนต่างๆ ภายในผังอย่าง
ชัดเจนว่าเป็นอาคาร หรือพื้นที่ประเภทใด มีการใช้งานอย่างใดอย่างหนึ่ง
5.1 ข้อควรพิจารณาในการเขียนผังแม่บท
5.1.1 ควรมีการเขียนผังขยายในบริเวณที่มีรายละเอยดมากๆ แยกออกมา
ี
ให้ชัดเจน
5.1.2 ควรมีการลงแถบเงาแสดงให้เห็นแสงแดดช่วงบ่ายที่ส่องเข้ามาใน
พนที่ เนื่องจากการออกแบบจัดภูมิทัศน์ส่วนมากเป็นการลดความร้อนของแสงแดดที่ส่องเข้ามาใน
ื้
พื้นที่