Page 22 -
P. 22
ิ
ิ
ุ
ื
ั
ิ
ิ
์
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร ี
15
ื้
ทัศน์พนที่ภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ประกอบด้วย พนที่สวนเส้นทางสัญจร พนที่
ื้
ื้
สวนหย่อม และพื้นที่สวนรอบอาคาร การพัฒนาสภาพภูมิทัศน์ที่ดีสามารถช่วยให้มีความยั่งยืนยิ่งขึ้น
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับควำมพึงพอใจ
ควำมหมำยของควำมพึงพอใจ
ึ
ความพงพอใจของมนุษย์เป็นสิ่งที่ไม่สามารถมองเห็นเป็นรูปธรรมได้ เนื่องจากมันเป็นการ
ึ
แสดงออกทางพฤติกรรมที่มีความซับซ้อนและนามธรรม การประเมินความพงพอใจของบุคคลจึงต้อง
อาศัยการสังเกตพฤติกรรมที่แสดงออกมา ซึ่งต้องมีสิ่งเร้าหรือสิ่งกระตุ้นที่ตรงต่อความต้องการของ
บุคคลเพื่อให้เกิดความพึงพอใจ เช่นเดียวกัน ความพึงพอใจในสื่อจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมีสิ่งกระตุ้นที่ท า
ให้ผู้รับสื่อมีความสนใจ และเมื่อสนองความสนใจเหล่านั้นได้ ผู้รับสื่อจะสามารถสร้างความพึงพอใจได้
จากสื่อดังกล่าวตามหลักการที่ว่าผู้รับสารเป็นผู้ก าหนดความต้องการและความพอใจของตนเอง
ึ
ทฤษฎีที่ได้รับความนิยมในการอธิบายความพงพอใจของมนุษย์มีอยู่ 2 ทฤษฎีหลัก ได้แก่
ทฤษฎีของฟรอยด์และทฤษฎีของมาสโลว์ ทฤษฎีของฟรอยด์แบ่งความต้องการทางจิตออกเป็น 3
ระดับ คือ ระดับจิตใต้ส านึก ระดับจิตส านึก และระดับจิตเหนือส านึก โดยความพึงพอใจจะเกิดขนเมื่อ
ึ้
ความต้องการในระดับจิตใต้ส านึกได้รับการตอบสนอง ในขณะที่ทฤษฎีของมาสโลว์กล่าวถึงความ
ต้องการของมนุษย์ที่แบ่งออกเป็น 5 ระดับ คือ ความต้องการทางกาย ความต้องการความปลอดภัย
ความต้องการความรัก ความเป็นเจ้าของ และความต้องการการยกย่อง ความต้องการทางกายเป็นขั้น
พนฐานที่สุดที่มนุษย์ทุกคนต้องการ ซึ่งเมื่อได้รับการตอบสนองแล้ว มนุษย์จะมีความต้องการในระดับ
ื้
ที่สูงขึ้นตามล าดับ (วาสนา ผิวผลาผล, 2564)
ในงานศึกษาของ Shelly (1995) ได้สรุปแนวคิดเกี่ยวกับความพงพอใจว่าเป็นความรู้สึกที่มี
ึ
ิ่
ึ
ลักษณะทั้งในทางบวกและลบ ความรู้สึกในทางบวกจะช่วยเพมความพงพอใจให้แก่บุคคลและเป็น
ความรู้สึกที่มีผลต่อบุคคลมากกว่าความรู้สึกในทางลบ การสร้างความพงพอใจให้แก่ประชาชนจึงเป็น
ึ
ี
สิ่งที่ส าคัญส าหรับหน่วยงานภาครัฐ ซึ่งสามารถท าได้โดยการให้บริการที่เสมอภาค ตรงเวลา เพยงพอ
ต่อเนื่อง และก้าวหน้า จากการศึกษาดังกล่าวท าให้มีผู้ท าการศึกษา และอธิบายความหมายของความ
พึงพอใจไว้ดังนี้
ึ
ความหมายของความพงพอใจได้รับการนิยามจากนักวิชาการหลายท่าน โดย ชนิดา จันทร์
สาร (2561) ระบุว่า ความพงพอใจหมายถึงความรู้สึกโดยรวมของบุคคลที่มีต่อการท างานในทิศ
ึ
ทางบวก ซึ่งรวมถึงความสุข ความกระตือรือร้น ความมุ่งมั่น และแรงจูงใจในการท างาน ส่งผลให้การ
ท างานมีประสิทธิภาพและเกิดผลส าเร็จตามเป้าหมายของหน่วยงาน ข้อความนี้สอดคล้องกับนิยาม
ของ น้ าลิน เทียมแก้ว (2561) ที่กล่าวว่า ความพงพอใจเป็นความรู้สึกของบุคคลที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ึ
ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อบุคคลได้รับสิ่งที่ตนเองต้องการหรือเป็นไปตามที่คาดหวัง โดยระดับความพงพอใจจะ
ึ