Page 39 -
P. 39
ื
ิ
์
ิ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
14 14
ุ
้
ิ
้
ภาพที่ 1.5 แสดงการเจรญของเสนใย invasive hyphae (IH) ในระยะลกลามของเชือรา
Pyricularia oryzae หลังจากการเข้าท าลายใบข้าว 22-40 ชั่วโมง (A) ราสร้าง biotrophic
interfacial complex (BIC) ที่ปลายเส้นใยลักษณะเป็นผนังหนาที่ปลายของ invasive
hyphae (HI) (B) BIC เคลื่อนย้ายไปยังส่วนของ IH อนแรกที่มีลักษณะโปร่งออก (C) มีการ
ั
สร้าง BICs ที่ปลาย IH ในเซลล์ข้างเคียงมีสาร cytoplasmic effectors (วงกลมสีแดง)
่
ได้แก Pwl2, Avr-Pita, Avr-Piz-t และ Bas1 สะสมที่ BIC และหลั่งไปที่ในไซโตพลาสซึมใน
เซลล์ใบข้าว ในขณะเดียวกัน apoplastic effectors (วงกลมสีฟา) ได้แก่ Slp1, Bas4,
้
และ Bas113 จะหลั่งไปยังส่วน apoplastic matrix ระหว่าง extrainvasive hyphal
membrane (EIHM) และผนังเซลล์เชื้อรา
S= spores; GT= germ tube; A= appressorium; N= nucleus; BIC= biotropic
interfacial complex; IH= invasive hyphae และ EIHM= extrainvasive hyphal
membrane
ที่มา: Fernandez and Orth, 2018