Page 38 -
P. 38
์
ิ
ิ
ิ
โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
13
13
ื
invasive hyphae (HI) หลังเข้าท าลายพชจะถูกล้อมรอบด้วย extrainvasive hyphal
membrane (EIHM) ที่ปลายเส้นใยจะหุ้มด้วย biotrophic interfacial complex (BIC)
ี
มลักษณะเป็นผนังหนาที่ปลายของเส้นใย รวมทั้งการสร้าง BICs ที่ปลายเส้นใยในเซลล์
ข้างเคียง จะมีการสะสม cytoplasmic effectors ได้แก่ Pwl2, Avr-Pita, Avr-Piz-t และ
Bas1 ที่ BIC และหลั่งไปในไซโตพลาสซึมในเซลล์ใบข้าว ในขณะเดียวกันเชื้อจะหลั่ง
apoplastic effectors ได้แก่ Slp1, Bas4, และ Bas113 ไปยังส่วน apoplastic matrix
ระหว่างชัน EIHM และผนังเซลล์เชื้อรา (Fernandez and Orth, 2018; Huckelhoven,
้
and Schouten, 2024)
1.3.7 การเจริญและสร้างส่วนขยายพันธุ์ (Growth and Reproduction)
เมื่อเชื้อราเจริญลุกลามโดยสร้างเส้นใยเจริญเข้าไปในเซลล์ข้างเคียงจากจุดที่เชื้อ
เข้าทาลาย จะเริ่มปรากฏอาการเป็นจุดเล็กๆ สีซีดหรือน้ าตาล ต่อมาอาการจะขยายลุกลาม
เป็นพื้นที่ใหญ่ขึ้นตามบริเวณที่เชื้อเจริญลุกลามไป จากหนึ่งใบไปหลายใบจนลามทั้งกิ่งหรือ
ทั้งต้น (Nazarov et al., 2020; Tronsmo et al., 2020; Spanu et al., 2024) เส้นใย
ออนจะเจริญเข้าท าลายพชได้อย่างต่อเนื่องในขณะที่เส้นใยแก่จะตาย เชื้อที่เข้าท าลายท่อ
่
ื
่
่
่
่
้
นาทออาหารจะสร้างสปอร์และปลอยกระจายในทอน าทออาหาร สปอร์สามารถงอกเป็น
้
ื
เส้นใยเข้าท าลายพชได้อย่างต่อเนื่อง เชื้อราส่วนใหญ่จะสร้างเส้นใยและสปอร์ทั้งบนผิวพช
ื
หรือในเซลล์ผิวพชบริเวณที่เชื้อเข้าท าลาย เพอสามารถปลดปล่อยสปอร์ออกได้ง่ายโดยลม
ื
ื่
ุ
ู
่
เชื้อราใน class Plasmodiophoromycetes สาเหตโรครากบวมของตระกลกะหล าและ
โรคเหี่ยวส่วนใหญ่จะสร้างเส้นใยและสปอร์ภายในพืช สปอร์จะถูกปล่อยออกมาเมื่อพืชตาย
หรือรากมการแตกหัก อัตราการสร้างสปอร์จะขึ้นกับเชื้อราแต่ละชนิดและความรุนแรงของ
ี
้
โรคในการเขาทาลายพืชแต่ละครง (Burchett and Burchett, 2018; Marchand et al.,
ั
้
2020; Oliver, 2024)
1.3.8 การแพร่กระจายของเชื้อราสาเหตุโรคพืช (Dissemination of the
Plant Pathogenic Fungi)
เชื้อราใน class Oomycetes สร้างซูโอสปอร์ที่สามารถเคลื่อนที่ได้ในระยะสั้นไป
ื
ยังรากพชอาศัยด้วยการว่ายน้ าของซูโอสปอร์หรือเส้นใยเชื้อราที่เจริญในดินสามารถเจริญ
ไปยังรากพืชและเซลล์ข้างเคียงได้ ส่วนราในกลุ่มอื่นจะสร้างสปอร์จากก้านชูสปอร์โดยตรงที่
ผิวใบหรือส่วนต่างๆ ของพช (Nazarov et al., 2020; Vitale, 2022; Govers, 2024)
ื
ซึ่งสามารถแพร่กระจายไดโดยตรงโดยลม ฝนหรอติดไปกบแมลง เชือราบางชนดจะสราง
้
ิ
้
ื
้
ั
โครงสร้างผลิตสปอร์ต่าง (fruiting body) ห่อหุ้มสปอร์เมื่อแก่เต็มที่สปอร์จะถูกพ่นหรือดัน