Page 65 -
P. 65

ุ
                                 ื
                                                    ิ
                                                                ิ
                                                 ์
                                                                                ั
                                    ิ
                                              ิ
             โครงการพัฒนาหนังสออเล็กทรอนกสเฉลมพระเกียรต สมเด็จพระเทพรตนราชสดาฯ สยามบรมราชกุมาร                  ี
                                                         62

               medial meniscus (ACL+M) กระดูก tibia จะมีการหมุนเข้าใน (internal rotation) มากขึ้น ที่มุมของ
               การงอเข่า 15 องศา เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มที่มีการฉีกขาดของ ACL เพียงอย่างเดียว (ภาพที่ 21)































               ภาพที่ 21 โมเดลกระดูกแบบ 3 มิติ จาก fluoroscope ในขณะเดินขึ้นบันได และการเคลื่อนที่ของ

               กระดูก tibia

               ที่มา Zhang Y, Huang W, Ma L, Lin Z, Huang H, Xia H. Kinematic characteristics of anterior
               cruciate ligament deficient knees with concomitant meniscus deficiency during ascending

               stairs. J Sports Sci. 2017;35(4):402-409. doi:10.1080/02640414.2016.1167231


                       นอกจากนี้การฉีกขาดที่ posterior root ของ lateral meniscus จะเกิดพร้อมกับการฉีกขาด

               ของ ACL ถึง 14 – 15 เปอร์เซ็นต์ การฉีกขาดที่ posterior root ของ lateral meniscus ทำให้กระดูก
               tibia เคลื่อนที่ไปทางด้านหน้ามากขึ้น (ตารางที่ 7) นอกจากนี้ถ้ามีการฉีกขาดของ meniscofemoral

               ligament ร่วมด้วยจะทำให้กระดูก tibia หมุนเข้าใน (internal tibial rotation) มากขึ้น การฉีกขาดที่

               posterior root ของ medial meniscus ไม่ได้ทำให้ ความเค้นกด (compressive stress) หรือพื้นที่
               สัมผัส (contact area) แตกต่างกับ meniscus ที่ปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่การผ่าตัดซ่อมแซม

               posterior root ไม่สามารถทำให้ปริมาณความเค้นกด (compressive stress) ลดลง หรือพื้นที่สัมผัส

               contact area เท่าเข่าที่ปกติได้ นอกจากนี้การที่ไม่มี meniscus เลย (total meniscectomy) ทำให้
               พื้นที่สัมผัส contact area ลดลงอย่างมาก ความเค้นกดจึงเพิ่มขึ้น ในทุกมุมของการงอเข่า (ตารางที่ 8)




                                                  Clinical Biomechanics of Knee ผศ.ดร.สิริพร ศศิมณฑลกุล
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70