Page 73 -
P. 73
้
คลังความรดจทัลและฐานข้อมลจดหมายเหต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ์
ุ
ู
ิ
ิ
ู
รางวัลดีเยี่ยม
กระบวนการที่มีการต่อยอด ประเภทนวัตกรรมบริการ
ข้อคำถาม
มิติที่ 1 การวิเคราะห์ปัญหา
1. สภาพปัญหา ที่มา และสาเหตุของปัญหาเป็นอย่างไร
จากการปรับปรุงกระบวนการบริหารจัดการงานเกษตรแฟร์ด้วยการประยุกต์ใช้ Digital Platform ใน
รอบปี 2566 และการวิเคราะห์ผลการจัดงานพบว่าผู้สนใจเข้าร่วมออกร้านจำหน่ายสินค้างานเกษตรแฟร์ในมี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีผู้สมัครจำหน่ายสินค้าในงานเกษตรแฟร์ประจำปี พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565
และ พ.ศ.2566 ดังนี้
ปี 2566 ปี 2565 ปี 2564
พื้นที่โซน (ประเภทสินค้า)
(จำนวนคน) (จำนวนคน) (จำนวนคน)
โซน A สินค้าอุปโภค – บริโภค 667 157 145
โซน B สินค้าอุปโภค – บริโภค 308 65 86
โซน C สินค้าการเกษตรและเทคโนโลยี 60 45 40
โซน D สินค้าต้นไม้ – อุปกรณ์การเกษตร 250 200 191
โซน E สินค้าอุปโภค – บริโภค 330 295 250
โซน F สินค้าสัตว์เลี้ยง – สัตว์เลี้ยง 60 54 50
โซน G สินค้าอุปโภค – บริโภค 393 224 164
และมะขาม หอม กระเทียม
โซน H หน่วยงานภายใน มก. และหน่วยงานพันธมิตร มก. 110 100 95
โซน K สินค้าอุปโภค - บริโภค 250 241 230
โซน J สินค้าแฟรนไชส์ - สินค้าหน่วยงานภาครัฐ 162 69 90
โซน L หน่วยงาน /องค์กรการกุศล 2 2 2
สวนสนุก 2 2 2
โซนตลาดน้ำนนทร ี 11 11 11
มูลนิธิ 6 12 14
รวมทั้งสิ้น (จำนวนคน) 2,611 1,477 1,370
67