Page 71 -
P. 71
ื
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
์
ุ
รายละเอียดผลงานเพื่อนาไปประยกต์ใ ช้
Papiliotrema aspenensis DMKU-SP67 เปนยีสต์ปฏิปักษ์สายพันธ์ไทย ซึงแยกจาก
็
่
ุ
่
ู
้
ผิวใบอ้อยทีมีประสิทธิภาพสงส าหรับการควบคมโรคแอนแทรคโนส ทีมีสาเหตุจากเชือรา
่
ุ
่
Colletotrichum gloeosporioides โดยกลไกการยับยั้งการเจริญทีมีตอเชือราสาเหตุโรค
่
้
คือ การสร้างสารอินทรีย์ระเหยง่าย การแย่งชิงสารอาหารเพือการเจริญ การสร้างไซเดอโร-
่
่
ฟอร์ (siderophore) และการสร้างไบโอฟล์ม เมือทดลองใช้ควบคมโรคทีเกิดกับผลมะม่วง
ิ
่
ุ
น ้าดอกไม้ พบว่า ลดการเกิดโรคแอนแทรคโนสได้ 94.1 เปอร์เซ็นต์ เท่า ๆ กับการใช้
่
้
สารเคมีฆาเชือราเบนโนมิล (benomyl) ซึงลดการเกิดโรค 93.9 เปอร์เซ็นต์ (1)
่
เอกสารอ้างอิง
(1) Konsue W, Dethoup T, Limtong S. Biological control of fruit rot and
anthracnose of postharvest mango by antagonistic yeasts from economic crops
leaves. Microorganisms 2020; 8:317; doi:10.3390/microorganisms8030317
ช่อเจ้าของและหนวยงาน
ื
่
ศ. ดร.สาวิตรี ลิมทอง และคณะ
่
ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ศนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ู
ช่อและทีอยส าหรับการติดตอ
่
ื
่
่
ู
ศ. ดร.สาวิตรี ลิมทอง
่
ู
ศนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เลขที 50 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรงเทพมหานคร 10900
ุ
่
62 | ศนย์ความหลากหลายทางชีวภาพ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ู