Page 149 -
P. 149
์
ิ
ิ
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ื
ิ
3-29
ั
ั
ยกระดับอุตสาหกรรมสูอุตสาหกรรมที่มีมูลคาสูงและมีศกยภาพในการแขงขนสูง ใหสอดรับกับบริบทโลก
บนฐานกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ทันสมัยและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่ใหเปนเมือง
ุ
อัจฉริยะนาอยูและมีความทันสมัยระดับนานาชาติ และสามารถประกอบกิจการอยางมีคณภาพ ซึ่งจะทําให
ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแขงขันสูงขึ้น และยกระดับการพัฒนาแบบกาวกระโดด เพื่อเสริมสราง
ความเขมแข็งใหกับประเทศไทยในฐานะประตูของภูมิภาคเอเชีย
3.3.1 แนวทางการพัฒนา
ู
1) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสง และสาธารณปโภค
ื่
ที่สําคัญ เพื่อใหสามารถทํางานไดอยางรวดเร็ว และตอยอดโครงสรางพื้นฐานทุกระบบใหเชอมโยงเขาสูพื้นที่
เศรษฐกิจ เพื่อรองรับความตองการลงทุน กิจกรรมทางเศรษฐกิจและกิจกรรมอื่นๆ ที่เกี่ยวของจากการพัฒนา
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกไดอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ
2) พัฒนาสนามบินอูตะเภาเปนสนามบินหลักของเขตพัฒนา
พิเศษภาคตะวันออก และเพิ่มขีดความสามารถในการรองรับสินคาและประสิทธภาพการบริหารจัดการของ
ิ
ทาเรือแหลมฉบัง ทาเรือมาบตาพุด และทาเรือสัตหีบดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัย
3) สงเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมเปาหมายพิเศษ รวมทั้งเขต
สงเสริมเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อใหเกิดการลงทุนของภาคเอกชนในอุตสาหกรรมเปาหมายที่ใชเทคโนโลยขนสูงให
ั้
ี
สามารถสรางเทคโนโลยีไดดวยตนเอง และเกิดการสะสมทุนทางเทคโนโลยี ในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
และประเทศไทยอยางเปนรูปธรรม
4) พัฒนาศกยภาพและคณภาพแหลงทองเที่ยวทั้งเชง
ุ
ิ
ั
ิ
ุ
ิ
ิ
ิ
ิ
ั
ประวตศาสตรและวฒนธรรม เชงนเวศและอนรักษ เชงสุขภาพ แหลงทองเที่ยวทางศลปวทยาการ
ิ
ั
ั
ู
แหลงทองเที่ยวเพื่อนนทนาการ รวมทั้งแหลงทองเที่ยวสรางใหม พรอมทั้งปรับปรุงภมิทัศนและพัฒนา
เสนทางกิจกรรมทองเที่ยว จัดพื้นที่เพื่อการทองเที่ยวใหมีคุณภาพ จัดการพื้นที่และสิ่งแวดลอมเพื่อการสราง
บรรยากาศที่ดีสําหรับการทองเที่ยวในพื้นที่ 3 จังหวัด ของเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ี
5) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานวทยาศาสตร เทคโนโลยและ
ิ
ิ
ิ
ู
นวัตกรรม สําหรับการทําวจัยตอยอดเพื่อขยายผลงานวจัยไปสูเชงพาณชย และพัฒนาศนยการเรียนรูและ
ิ
ิ
ศูนยบริการ รวมทั้งจัดทําหลักสูตร การเรียนการสอน และฝกอบรมตอยอดโครงสรางพื้นฐานใหเปนแหลง
สนับสนุนการถายทอดเทคโนโลยีทั้งในและตางประเทศ รวมถึงการใหบริการวิเคราะหทดสอบของภูมิภาคอาเซียน
ั
6) พัฒนาเมืองในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออกใหเปนเมือง
อัจฉริยะที่มีความนาอยูและทันสมัยระดับนานาชาติ เปนกลไกสําคัญในการขับเคลื่อนการลงทุนและเศรษฐกิจ
ั
สอดคลองกับนโยบายขับเคลื่อนเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก” (สํานกงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและ
ั
สังคมแหงชาติ 2562, 6-7)
(2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565-2569)
ั
สํานกงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2564ก: 93-96) ไดกําหนดการ
ิ
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษและเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนออกไวในหมุดหมายที่ 8 ไทยมีพื้นที่และ
ั
เมืองอัจฉริยะที่นาอยู ปลอดภัย เติบโตไดอยางยั่งยืน โดยระบุถงสถานการณที่ผานมาไววา “ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจ
ึ
พิเศษ แมวาจะไดรับผลกระทบจากการชะลอตวของการลงทุน แตบางกิจการยงไดรับความสนใจจากนก
ั
ั
ั
ลงทุนและมีการลงทุนอยางตอเนอง โดยเฉพาะกิจการเปาหมายในพื้นที่ดงนนตองใหความสําคญกับการ
ื่
ั
ั้
ั
พัฒนาโครงสรางพื้นฐานใหมีความพรอม และการทบทวนและปรับมาตรการใหพรอมรองรับการลงทุน