Page 153 -
P. 153
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
3-33
รวมในสาขาเกษตรเพิ่มขึ้น 2. เปาหมายระดับจังหวัด เชน จังหวัดฉะเชิงเทรา เปนแหลงเพาะเลี้ยงสัตวน้ําเชง
ิ
อุตสาหกรรม จังหวัดชลบุรี เปนแหลงพืชพลังงาน และ จังหวดระยอง เปนแหลงรวบรวมผลไมและอาหาร
ั
ทะเลสด และ 3. เปาหมายคลัสเตอรที่มีศักยภาพและดําเนินการไดทันที ซึ่งประกอบดวย 5 คลัสเตอร ไดแก
“1) ผลไม เนนพัฒนาคุณภาพสินคาสูตลาดสินคามูลคาสูง เชน ทุเรียน มังคุด
มะมวง ในพื้นที่จังหวัดระยองและฉะเชิงเทรา
2) ประมงเพาะเลี้ยง เนนการเพิ่มมูลคาในหวงโซอุปทานดวยเทคโนโลยีการผลิต
และสรางเศรษฐกิจใหม เชน กุงกามกราม กุงขาว และปลานิล ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราและระยอง
3) พืชสําหรับอุตสาหกรรมชีวภาพ เนนยกระดับผลผลิตมันสําปะหลังใหมีคุณภาพ
และมีปริมาณที่เพียงพอตอความตองการของตลาด สงเสริมการแปรรูปดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อลด
ตนทุนและเพิ่มมูลคาสินคา ในพื้นที่จังหวัดชลบุรี
4) พืชสมุนไพร เนนการพัฒนาสมุนไพรอยางครบวงจรในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวันออก (EEC) เชน ฟาทะลายโจร กระชาย กัญชงและกัญชา ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทราและชลบุรี
ื้
5) เกษตรมูลคาสูง เนนพัฒนาคุณภาพสินคาสูตลาดสินคามูลคาสูง เชน เนอโคพรีเมียม
คุณภาพสูงและไขไกอินทรีย ในพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง
สําหรับการขบเคลื่อนรางแผนปฏบัตการ จะดาเนนการภายใต 3 ยทธศาสตร
ั
ิ
ุ
ิ
ิ
ํ
ี
ี
ี
สําคัญ คือ ยุทธศาสตรที่ 1 ยกระดับผลิตภาพการผลิตโดยเทคโนโลยการเกษตรและเทคโนโลยชวภาพ จํานวน 34
ุ
ั
โครงการ วงเงิน 596.21 ลานบาท ยทธศาสตรที่ 2 ยกระดบผลิตภณฑใหมีมูลคาเพิ่มดวยนวตกรรมและ
ั
ั
ุ
การตลาด จํานวน 24 โครงการ วงเงิน 845.54 ลานบาท และยทธศาสตรที่ 3 พัฒนาทรัพยากรมนษยภาค
ุ
ุ
เกษตรและสรางบรรยากาศเขาสูธรกิจการเกษตรสมัยใหม จํานวน 43 โครงการ วงเงิน 1,403.8 ลานบาท
โดยแบงการดําเนินงานออกเปน 3 ระยะ คือ ระยะแรก (พ.ศ.2566-2567) เนนเตรียมการปรับโครงสรางการ
พัฒนาการเกษตรดวยเทคโนโลยีการเกษตรและดําเนินการพัฒนาคลัสเตอรสินคาเกษตรที่มีศักยภาพ ระยะกลาง
ี
(พ.ศ.2568-2570) เนนการขบเคลื่อนการถายทอดเทคโนโลยเพื่อสรางมูลคากับภาคเกษตร พรอมทั้งตอ
ั
ั
ยอดคลัสเตอรการเกษตร เชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมเปาหมายสมัยใหม และระยะถดไป (พ.ศ. 2571 เปนตนไป)
มุงเนนใหเกิดนวัตกรรมทั้งในการผลิตและการพัฒนาสินคา ซึ่งตองตอบโจทยความตองการที่เปลี่ยนแปลงไป
ของตลาดสินคาเกษตรและตอบสนองตอความตองการอาหารรูปแบบใหมๆ
ิ
ประโยชนที่จะไดรับจากรางแผนปฏบัตการน เปนการปรับโครงสรางการเกษตร
ี้
ิ
ในพื้นที่ EEC ใหเชื่อมโยงกับภาคเศรษฐกิจอื่นๆ และเปนตนแบบการพัฒนาภาคการเกษตรในประเทศไทย
ที่เนนการประยุกตและพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรที่ตอบสนองตอความตองการของตลาดสินคาเกษตรไทย
และเกิดการกระจายรายไดไปสูเกษตรกร”
3.4.3 ลําดับเวลาของการดําเนินการในการจัดตั้งเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
ํ
ิ
ั้
ั
การดาเนนการจัดตงเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก (Eastern Economic Corridor : EEC)
มีลําดับเวลาในการจัดตั้งดังน ี้
ิ
ั
วนที่ 22 กันยายน 2558 คณะรัฐมนตรี มีมตเห็นชอบ เรื่องนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ในรูปคลัสเตอร โดยเปน Super Cluster สําหรับกิจการที่ใชเทคโนโลยีชั้นสูงและอุตสาหกรรมแหงอนาคต
วนที่ 17 พฤศจิกายน 2558 คณะรัฐมนตรีมีมตเห็นชอบขอเสนอ 10 อุตสาหกรรม
ั
ิ
เปาหมาย : กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Engine of Growth) แบงเปน (1) การตอยอด 5 อุตสาหกรรม
เดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) และ (2) การเติม 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve)