Page 151 -
P. 151

โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                 ิ
                                                                             ิ
                                               ์
                               ื
                                  ิ
                                            ิ
                                                                                                    3-31

               นาเสนอคณะกรรมการนโยบายฯพิจารณาเปนแผนการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวนออก
                                                                                                   ั
                 ํ
               ในภาพรวมตอไป
                              จากขอสั่งการดังกลาว กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตและสิ่งแวดลอม (2562: 3-16, 3-17)
                                                                         ิ
               ไดจัดทํายุทธศาสตรการลดวิกฤติ และภัยคุกคามที่เกี่ยวของกับการเกษตรไวรวม 3 เรื่อง คือ
                                                            
                                                               ิ
                                                   
                                                                                                  ั
                                     1) กําหนดการใชประโยชนที่ดนที่มีความเหมาะสมและสอดคลองตามศกยภาพ
                                              ิ
               ของพื้นที่โดยมุงการบริหารจัดการเชงระบบนเวศ (Ecosystem  Approach)  ที่คานงถงความสัมพันธเชง
                                                      ิ
                                                                                    ํ
                                                                                                     
                                                                                       ึ
                                                                                         ึ
                                                                                                       ิ
               ระบบหรือองครวม (Holistic Approach) ไดแก การจัดการลุมนาอยางบูรณาการ และการบริหารจัดการ
                            
                                                     
                                                                          
                                                                      ้ํ
                               ํ
                                     ู
                                                                                   
                                                                                               ุ
                                                                                                  
                                                                           
                                               ิ
                                                     
                                                           ุ
               กลุมปา เพื่อการดารงอยของระบบนเวศอยางสมดล และตอบสนองตอความตองการของมนษย เพื่อให
               สามารถใชประโยชนจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน โดยมีการบูรณาการดานการจัดการที่ดิน น้ํา
                        ี
                         ิ
               และสิ่งมีชวตที่อาศยอยในบริเวณนน ใหเกิดความสมดล ทั้งการอนรักษความหลากหลายทางชวภาพ
                                              ั้
                                                                                                   ี
                                ั
                                    ู
                                                                               
                                                               ุ
                                                                           ุ
               การใชประโยชนอยางยั่งยืน และการแบงปนผลประโยชนอยางเทาเทียมและเปนธรรม
                                     2) กําหนดและจําแนกเขตการผลิตทางการเกษตร เพื่อคมครองพื้นที่เกษตรกรรม
                                                                                   ุ
               และสงเสริมความมั่นคงทางอาหาร โดยกําหนดเปนเขตแหลงผลิตอาหาร (Food Zone) หรือเขตการผลิต
               ทางการเกษตรตามศักภาพของพื้นที่โดยเฉพาะสวนผลไม (Fruit Zone) สงเสริมมาตรการจูงใจทางการเงิน
                                                                                   
                                                           
                                                                                                ั
                                                                                            ื
                             ู
               แกเกษตรกรที่ดแลรักษาพื้นที่สีเขยวและฟนฟูปาตนนา การพัฒนาระบบฐานขอมูลการเตอนภยทางการ
                                                             ้ํ
                                            ี
                                                           
               เกษตรที่มีการบูรณาการระหวางหนวยงานที่เกี่ยวของ การสงเสริมการทําเกษตรกรรมตามแนวทางการ
                                              
                                         
               จัดการที่ดนและนาเพื่อเกษตรกรรมยงยน ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเดจพระปรมินทรมหา
                        ิ
                               ้ํ
                                                                                       ็
                                                                     ํ
                                                ั่
                                                  ื
               ภูมิพลอดุลยเดช
                                                                                                   ั
                                     3) สงเสริมการพัฒนาการผลิตสินคาทางการเกษตรใหมีคุณภาพและปลอดภยตาม
               มาตรฐานเกษตรอินทรีย และแนวทางการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี เพื่อสรางมูลคาการสงออกที่แตกตางจาก
               การสงออกสินคาทางการเกษตรจากภูมิภาคเดียวกัน และมีการพัฒนาตอยอดสินคาใหมีความเปนเอกลักษณ 
               ควบคกับการสงเสริมแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจบนฐานความรู โดยพัฒนาเทคโนโลยและนวตกรรมที่
                     ู
                                                                                          ี
                                                                                                 ั
                                                                           ุ
               เหมาะสมผสมผสานกับภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหมีการใชทรัพยากรอยางคมคา และเพิ่มผลิตภาพของการผลิต
                                                                              
                                                             
                                                                        
               รวมทั้งสงเสริมใหมีการปฏิบัติตามแนวทางที่ระเบียบกําหนด รวมทั้งสรางกลไกรองรับเพื่อใหมีการเตรียมการ
                                                       
                                                                                               
                                                                                                      
                                                    
                                                                                        ิ
                                                                           
               และดําเนินการแกไขในสวนที่เปนอุปสรรคไดอยางเหมาะสม จากการเขารวมเปนสมาชกในองคกรระหวาง
               ประเทศ รวมถึงการเปนสมาชิกภายใตอนุสัญญาพันธกรณีและขอตกลงระหวางประเทศ

                                                                 ิ
                              (4) การเปลี่ยนแปลงพนที่ในเขตปฏิรูปที่ดนเพื่อเกษตรกรรมไปเพื่อการพัฒนาโครงการ
                                                 ื้
               ศนยธุรกิจ EEC และเมืองใหมนาอยูอัจฉริยะ ตามมติคณะรัฐมนตรี วนที่ 22 มีนาคม 2565
                 ู
                                                                         ั
                              คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 22 มี.ค. 2565 อนุมัติใหสํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา
               พิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) เขาใชประโยชนที่ดินของสํานกงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม (ส.ป.ก.)
                                                               ั
               จํานวน 14,619 ไร ในทองที่ ต.หวยใหญ อ.บางละมุง จ.ชลบุรี เพื่อดําเนินโครงการศูนยธุรกิจ EECและเมือง
               ใหมนาอยูอัจฉริยะ
                              ทั้งนี้ เปนการดําเนินการตาม พ.ร.บ.เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 มาตรา 36
               ที่บัญญัติใหคณะกรรมการเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (กพอ.) โดยความเห็นชอบของ ครม.  มีอํานาจให
                                                  ํ
                                                                                                
                                                                      ื
                                                                                     
                                                     ิ
                                                                                                   
               สกพอ. เขาใชประโยชนของ ส.ป.ก. เพื่อดาเนนการอื่นใดนอกเหนอจากที่กําหนดไวในกฎหมายวาดวยการ
               ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมได  
   146   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156