Page 146 -
P. 146

์
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                 ิ
                                                                             ิ
                                  ิ
                                            ิ
                                                                                                    3-26

                                     1.2 เปาหมายการพัฒนา
                                            (1) พื้นที่เปาหมาย จังหวัดชลบุรี ระยอง และฉะเชิงเทรา รวมถึงพื้นที่อื่น
               ใดที่จะมีการออกพระราชกฤษฎีกากําหนดเพิ่มเติม

                                                  ุ
                                             (2) อตสาหกรรมเปาหมาย ซูเปอรคลัสเตอร และ10 อุตสาหกรรม
               เปาหมาย : กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New Engine of Growth) เชน คลัสเตอรยานยนตและ
               ชิ้นสวน คลัสเตอรเครื่องใชไฟฟา อิเล็กทรอนิกส คลัสเตอรปโตรเคมีและเคมีภณฑที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม
                                                                                ั
                                                                                             
                                                                     
               อุตสาหกรรมทองเที่ยว อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส เปนตน
                                                                ี่
                                                             ื้
                                                    ุ
                                     1.3 สถานะปจจบันของพนทดานเศรษฐกจ ภาคอุตสาหกรรมและบริการ
                                                                 
                                                                            ิ
                                                                                        ั
                               ั
               มีบทบาทในการขบเคลื่อนเศรษฐกิจของพื้นที่ EEC โดยในป 2557 มีมูลคาผลิตภณฑมวลรวมสาขา
                                                                                 
               อุตสาหกรรมรอยละ 65 (มูลคา 1.2 ลานลานบาท คดเปนเกือบ 1 ใน 3 ของประเทศ) สาขาบริการรอยละ 32
                                                          ิ
                                        
                                                                                              ิ
                                                                           
               และสาขาเกษตรกรรมรอยละ 3 การลงทุนสะสมภาคอุตสาหกรรมมูลคา 1.6 ลานลานบาท คดเปนรอยละ
                                                                               
                                            
                                                                             
                                                                    
                                      
               27.89 ของประเทศ รายไดเฉลี่ยตอหัวเทากับ 624,185 บาทตอป  สูงกวาคาเฉลี่ยของประเทศนอกจากน  ี้
                                                                                       ิ
               เมืองพัทยายงมีความหลากหลายของแหลงทองเที่ยวทั้งแหลงทองเที่ยวธรรมชาตที่สวยงามและแหลง
                           ั
               ทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่มีชื่อเสียงหลายแหง รวมทั้งมีสิ่งอํานวยความสะดวกรองรับการทองเที่ยวครบครัน
               มีโรงแรมและรานอาหาร ที่ไดมาตรฐานจํานวนมาก มีจํานวนนักทองเที่ยวเฉลี่ย 10 ลานคนตอป (ป 2554-2558)
                                                                                                       ั
                                            ดานโครงสรางพื้นฐาน มีความพรอมของระบบโครงสรางพื้นฐานในระดบ
                                                                                                   ู
                                     
               สูงสุดของประเทศ ทั้งดานการคมนาคมขนสง (ถนน รถไฟ ทาเรือ และสนามบิน) สาธารณปโภค
                       ู
                                                         ิ
               สาธารณปการและนคมอุตสาหกรรม โดยมีพื้นที่นคมอุตสาหกรรมพรอมรองรับการพัฒนาอุตสาหกรรมอีก
                                 ิ
               ประมาณ 30,000 ไร
                                                            ั
                                                                                                    ้ํ
                                            ดานสิ่งแวดลอม ยงมีปญหาการลักลอบทิ้งขยะตามที่สาธารณะ นาเสีย
               และมลพิษทางอากาศ สงผลกระทบตอคุณภาพชีวิตของประชาชนในชุมชนและบริเวณใกลเคียง จําเปนตองมี
               การกํากับดูแลใหเปนไปตามกฎหมาย

                                                      ั
                                                                     ั
                                                                                      
                                     1.4 แนวทางการพฒนา เพื่อยกระดบการพัฒนาพื้นที่ตอยอดสูการเปนพื้นที่
               เศรษฐกิจชั้นนําของเอเซีย ประกอบดวย 5 แนวทาง ดังน  ี้
                                            (1) พัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายที่ใชเทคโนโลยีขั้นสูง เปนมิตรกับ
               สิ่งแวดลอมและสอดคลองกบศักยภาพของพื้นท พรอมกับเรงรัดการแกปญหาสิ่งแวดลอมในพื้นที่ให 
                                       ั
                                                        ี่
                                ิ
                                                                      ั
               เกิดผลในทางปฏิบัต โดยสงเสริมใหอุตสาหกรรมใชเทคโนโลยีระดบสูงรวมกับการวิจัยและพัฒนา
                                            (2) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานการขนสงเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจที่มี
               ศักยภาพรองรับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายและเชื่อมโยงสูตลาดโลก โดยขยายขีดความสามารถของ
               โครงสรางพื้นฐานดานการขนสงทุกรูปแบบใหมีประสิทธิภาพ ทันสมัย ไดมาตรฐานสากล
                                            (3) พัฒนาระบบสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ โครงสรางพื้นฐาน
               และบริการทางสังคม และสิ่งแวดลอมที่ไดมาตรฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน สรางสมดุล
                                                 
               ของการพัฒนา และกระจายผลประโยชนสูชุมชน
                                            (4) พัฒนาสภาพแวดลอมเมืองสําคัญของจังหวัดใหเปนเมืองนาอยู
                                                                                        
                                                            ุ
               เอื้อตอการขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมอยางมีสมดล เมืองสําคัญในพื้นที่ EEC อาทิ
                                            ฉะเชิงเทรา : พัฒนาเปนเมืองที่อยูอาศัยชั้นดีที่ทันสมัยรองรับการ
               ขยายตัวของกรุงเทพฯ และ EEC
   141   142   143   144   145   146   147   148   149   150   151