Page 145 -
P. 145
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
3-25
3.4 เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC)
คณะรัฐมนตรีไดมีมตเมื่อวนที่ 28 มิถนายน 2559 เห็นชอบหลักการ “โครงการพัฒนาระเบียง
ิ
ั
ุ
ั
ื่
เศรษฐกิจภาคตะวนออก (Eastern Economic Corridor: EEC) ตอมาไดเปลี่ยนชอเปน “เขตพัฒนาพิเศษ
ภาคตะวนออก” ตามพระราชบัญญัตเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก พ.ศ. 2561 การทบทวนหัวขอนจะมี
ั
ี้
ั
ิ
ั
5 เรื่อง คือ (1) ความเปนมาแผนงานระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวนออก (พ.ศ. 2560-2564) (2) แผนยอยของ
แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (3) ลําดับเวลาของการดําเนินการในการจัดตั้ง
ํ
ิ
ํ
ั
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก และ (4) ความกาวหนาของการดาเนนการ (5) ปญหาในการดาเนนการ
ิ
โดยมีรายละเอียดดังตอไปน ี้
3.4.1 ความเปนมาแผนงานระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (พ.ศ. 2560-2564)
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2559ข: I-III) ไดสรุปความเปนมา
ิ
และสาระสําคัญของแผนงานพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor : EEC) ไวดังน ี้
ุ
“ภาคตะวนออกของประเทศไทยตงอยในจุดยทธศาสตรที่ดที่สุดของภมิภาคอาเซียน
ู
ั
ี
ู
ั้
ั
สามารถเชื่อมโยงไปยังประเทศจีนและอินเดียที่มีประชากรจํานวนมากและมีอัตราการขยายตวทางเศรษฐกิจสูง
โดยสัดสวนผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาต (GDP) ของภูมิภาคเอเซียและประเทศแถบแปซิฟค คิดเปน 1 ใน 3
ิ
ของมูลคา GDP ของโลก นอกจากน 3 จังหวัดภาคตะวันออก (จังหวัดฉะเชิงเทรา ชลบุรี และระยอง) ยงเปน
ี้
ั
ฐานการผลิตอุตสาหกรรมที่สําคัญของประเทศ ไดแกอุตสาหกรรมปโตรเคมี และอุตสาหกรรมยานยนตและ
ั
ิ้
ิ
ชนสวน และมีความพรอมของโครงสรางพื้นฐานที่สําคญ ประกอบดวย ทาเรือพาณชยแหลมฉบัง ทาเรือ
ู
อุตสาหกรรมมาบตาพุดทางหลวงพิเศษระหวางเมือง (มอเตอรเวย) รถไฟทางคและสนามบินอูตะเภา
ั
ั
มีเมืองพัทยาเปนแหลงทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดบโลก รวมทั้งยงมีพื้นที่เพียงพอสําหรับรองรับการขยายตว
ั
ั
ของภาคอุตสาหกรรม จึงสามารถพัฒนาตอยอดสูการเปน “ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวนออก (Eastern
ุ
ี
ั
ี
Economic Corridor : EEC)” เพื่อใหเปนพื้นที่เศรษฐกิจชนนาของเอเชย ที่จะสนบสนนการเพิ่มขด
ั้
ํ
ั
ิ
ั
ความสามารถในการแขงขน การขยายตวทางเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งการยกระดบคณภาพชวตและ
ี
ุ
ั
รายไดของประชาชน”
เมื่อวนที่ 22 กันยายน 2558 คณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบนโยบายเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ั
ในรูปแบบคลัสเตอร โดย Super Cluster เปนคลัสเตอรสําหรับกิจการที่ใชเทคโนโลยีชั้นสูงและอุตสาหกรรม
แหงอนาคต
ตอมาเมื่อวันที่ 17 พฤศจิกายน 2558 คณะรัฐมนตรีไดเห็นชอบขอเสนอ 10 อุตสาหกรรม
เปาหมาย : กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจ (New Engine of Growth) แบงเปน (1) การตอยอด 5 อุตสาหกรรม
เดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) และ (2) การเติม 5 อุตสาหกรรมอนาคต (New-S-curve)
คณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 ไดมีมติเห็นชอบหลักการโครงการพัฒนาระเบียง
เศรษฐกิจภาคตะวันออก และมอบหมายใหสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิ
(สศช.) ประสานและบูรณาการขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ เพื่อจัดทําแผนงานพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคตะวันออก (พ.ศ. 2560-2564) ในการน สศช. ไดดําเนินการแลวเสร็จ สรุปสาระสําคัญไดดังน ี้
ี้
1. แผนงานพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (พ.ศ. 2560-2564)
1.1 วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนการยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของ
ประเทศสงเสริมการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพิ่มการจางงาน ยกระดับคุณภาพชีวิตและรายไดของประชาชน