Page 157 -
P. 157

์
                               ื
                                            ิ
                                                                             ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                                                 ิ
                                  ิ
                                                                                                    3-37

               ตารางที่ 3-5 ปญหาเรื่องการกําหนดเขตที่ดินเพื่อการพัฒนา EEC (ตอ)

                          พื้นที่                              ผลกระทบจากการแปรสภาพที่ดิน
                                           สืบเนื่องจากขอหวงกังวลดังกลาว สกพอ.ไดออกมาตรการเพื่อแกไขสถานการณภัยแลง รวมถึงมาตรการเรงดวน
                                                                                                     
                                         3 มาตรการที่จะเพิ่มปริมาณน้ําในพื้นที่เพื่อตอบสนองตอความตองการใชน้ํา โดยการผันน้ําจากอางเกบน้ําอยาง
                                                                                                        ็
                                                                                        ํ
                                                                                                             
                                         นอยสามแหง และอนุมัติงบประมาณสําหรับโครงการจัดการน้ําในระยะยาว จานวน 53 โครงการ มีการสรางอาง
                                                                                                           
                                         เก็บน้ํา ในจังหวัดจันทบุรีและสระแกวซึ่งเปนจังหวัดขางเคียงกับจังหวัดใน EEC เพื่อจัดสรรน้ําใหแกโครงการตางๆ
                                                                                    
                                         ใน EEC โดยมีการเวนคืนที่ดินในจังหวัดจันทบุรีอยางนอย 200,000 ไร เพื่อการนี้
                                                                                                    ื้
                                           อยางไรก็ดี เมื่อพิจารณาถึงระดับการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในปจจุบัน นักวิชาการในพนที่ไดแสดงความ
                                                                                              
                                                                                                          
                                         หวงกังวลวาโครงการดังกลาวอาจไมชวยใหสถานการณดีขึ้น อีกทั้งเสนอวาการแกไขปญหาที่ยั่งยืนอาจเปนการที่
                                                                                           
                                                                                                            
                                                                                                    ํ
                                                                                                              
                                         รัฐบาลจัดการอุปสงคเรื่องน้ําอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น นอกจากนี้ เนื่องจากบรษัทตางๆ ยังจาเปนตองแบงปน
                                                                                           ิ
                                                                                                      
                                                                                                       ิ่
                                         น้ําจากอางเก็บน้ํากับชาวไรชาวนาและครวเรอนทั่วไป จงนําไปสูรายงานวาผูอยูอาศัยในพนที่ไดเรมประทวงวา
                                                         
                                                                     ื
                                                                  ั
                                                                                                 ื้
                                                                            ึ
                                         แหลงน้ําในพื้นที่ของตนถูกนําไปจัดสรรใหภาคอุตสาหกรรมใชเทานั้น

               ที่มา: คณะกรรมการนักนิติศาสตรสากล (2563: 113-115)

               3.5 กรอบพัฒนาภาคตะวันออก พ.ศ. 2566-2570
                                                                                       
                                                                   ิ
                       สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2564ข: 141-152) ไดจัดทํากรอบแผนการ
               พัฒนาภาคตะวันออกในชวง พ.ศ. 2566-2570 ไวดังน
                                                           ี้
                                                
                                                                                       ิ
                       3.5.1 บทบาทของภาค ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาตหลายฉบับที่ผานมา
               ภาคตะวันออก เปนภูมิภาคหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมาอยางตอเนื่อง เนื่องจาก
                                                    ั
                      ั้
               เปนที่ตงของอุตสาหกรรมเปาหมายที่สําคญของประเทศ พรอมทั้งเปนเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาค
                   ั
               ตะวนออก และมีโครงขายคมนาคมขนสงที่มีประสิทธภาพและคอนขางครบครัน ทั้งทางถนน ทางราง
                                                              ิ
                                                                        
                                    
                                                                            
               ทางอากาศ ทางทะเล และเปนแหลงการคาชายแดนกับประเทศกัมพูชาที่สามารถเชื่อมโยงการคากับประเทศ
                                                                                      
                                                                     ั
                                                                    ี้
                                                                                                   ั
               ในภูมิภาคอาเซียนและเอเชียแปซิฟกไดอยางสะดวก นอกจากนยงเปนแหลงผลิตสินคาเกษตร ที่สําคญของ
               ประเทศ โดยเฉพาะผลไม สุกร ไก กุงทะเล รวมทั้งมีศักยภาพในการตอยอดการพัฒนาใหเปนแหลงทองเที่ยว
                                                                                                  ิ
               เชิงเกษตรตอไป ขณะเดยวกันยังมีแหลงทองเที่ยวที่สําคัญของประเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาต ทั้งการ
                                   ี
                                              ิ
                                                                  
                                                                                       ั
                                                                                ิ
               ทองเที่ยวชายทะเล การทองเที่ยวเชงสุขภาพและการแพทย การทองเที่ยวเชงผจญภย และการทองเที่ยว
                                                                          ั
                                 ั้
               เชงอารยธรรม ดงนน ในชวงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 ภาคตะวนออกจะเปนฟนเฟองสําคญในการ
                                      
                              ั
                                                                                                 ั
                 ิ
               สนับสนุนใหเกิดการพลิกโฉมและขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ ใหสามารถเติบโตไดอยางยั่งยืน และสามารถ
               รับมือกับการเปลี่ยนแปลงและปรับตัวใหอยูรอดอยางมั่นคง ทามกลางสภาวะวิกฤติทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
                                                                                        ิ
               เพื่อใหบรรลุเปาหมายหลักของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13 “เศรษฐกิจสรางคณคา สังคมเดนหนาอยางยงยน”
                                                                                                      ื
                                                                                                   ั่
                                                                                             
                                                                                                
                                                                                
                                                                             ุ
                                                                                                     ั
                                             ั
               ตามบทบาทของภาคตะวนออกที่ยงคงมุงเนนการพัฒนาดานอุตสาหกรรม การผลิตอาหารปลอดภยได            
                                                                  
                                                     
                                     ั
                                                                                           
                                                                                ื่
               มาตรฐาน  การทองเที่ยวคณภาพ การคาชายแดน และการเปนศนยกลางเชอมโยงการคา การทองเที่ยว
                                                                       ู
                                                                          
                                      ุ
                                                  
                                                                                    
               และโลจิสติกส ภายในประเทศและตางประเทศ รวมทั้งการรักษาความอุดมสมบูรณของทรัพยากรธรรมชาต   ิ
               และสิ่งแวดลอม
                                        ั
                              ิ
                       3.5.2 ทศทางการพฒนาภาค การพัฒนาภาคตะวนออกในชวงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 13
                                                                   ั
                                                                             
               ตามบทบาทการพัฒนาของภาค มุงเนนใหภาคตะวันออกเปน “ฐานเศรษฐกิจสีเขียวชั้นนําของอาเซียน ควบค ู
                              ํ
                                                    ี
                                                                                      ั
                                   ิ
                                  ี
                   ุ
               กับคณภาพการดารงชวตของประชาชนที่ด” โดยกําหนดทิศทางการพัฒนาภาคตะวนออก (E Direction)
               ที่ใหความสําคัญกับการยกระดับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม เสริมสรางความเขมแข็งของ
               ครัวเรือน และพัฒนาเมืองใหเปนเมืองนาอย SHARE ไดแก การพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายในพื้นที่ EEC
                                                              
                                                
                                                    ู
                                                                                      
               และปราจีนบุรี ยกระดับศักยภาพของ Start-up และ SMEs ตลอดหวงโซอุปทานที่เขมแขง และเสริมสราง
                                                                                          ็
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162