Page 162 -
P. 162
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
3-42
ผลิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม รวมทั้งสงเสริมการใชทรัพยากรการผลิตใหคมคาสูงสุดและพัฒนาพื้นที่
ุ
ิ
ั
ี
อุตสาหกรรมใหเอื้อตอการใชวทยาศาสตร เทคโนโลยและนวตกรรม ในการผลิตที่มีประสิทธภาพ
ิ
อาทิ การพัฒนาศนยวจัยและทดสอบกลางสําหรับกลุมอุตสาหกรรมเปาหมายในเขตพัฒนาพิเศษ
ิ
ู
ภาคตะวันออก การพัฒนาศนยฝกอบรมเกี่ยวกับอุตสาหกรรมเปาหมาย การพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต
ู
และชิ้นสวนสูยานยนตในอนาคต (ยานยนตไฟฟา) การพัฒนาอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนกสที่ผลิตวงจรไฟฟา
ิ
ที่มีความซับซอนมากขึ้น (อาทิ ระบบอิเล็กทรอนิกสที่ใชในยานยนตและเครื่องใชไฟฟาอัจฉริยะ)
(2) พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหมดานอุตสาหกรรม ในพื้นที่ที่มีศกยภาพ อาทิ จังหวด
ั
ั
ั้
ปราจีนบุรี โดยการสงเสริมใหเกิดการลงทุนในกลุมอุตสาหกรรมที่ใชเทคโนโลยขนสูงและอุตสาหกรรมแหง
ี
อนาคต รวมทั้งใชการพัฒนาอุตสาหกรรมเปาหมายในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกเปนตนแบบ
ิ
ั
ิ
ั
(3) ยกระดบศกยภาพของวสาหกิจเริ่มตน (Start-up) และวสาหกิจ SMEs ในเขตพัฒนา
ุ
พิเศษภาคตะวันออก รวมทั้งจังหวัดปราจีนบุรีในการผลิตสินคาและบริการที่มีคณภาพและปริมาณ เพียงพอ
โดยการถายทอดเทคโนโลยสมัยใหมและสนบสนนการพัฒนาใหกับ Start-up และ SMEs เพื่อใหเปนสวน
ุ
ั
ี
หนึ่งของหวงโซอุปทานในอุตสาหกรรม อาทิ การพัฒนาชิ้นสวนอุปกรณ และเปนสวนสําคัญในการ ขับเคลื่อน
อุตสาหกรรมเปาหมาย
(4) พัฒนากําลังแรงงานใหสอดคลองกับความตองการที่แทจริง โดยการสงเสริมความรู
ั
ทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษาและการวิจัยและพัฒนา อาทิ การพัฒนาหลักสูตรการศึกษาและการยกระดบ
ทักษะฝมือแรงงาน (Upskill/Reskill/New skill) เพื่อยกระดับขีดความสามารถการแขงขันของ อุตสาหกรรม
เปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนรูปธรรม
ั
3.5.8 พัฒนาการเกษตรคุณภาพและผลตอบแทนสูง เชื่อมโยงสูการผลิตอาหารปลอดภย การผลิต
พลังงานทดแทน และพืชสมุนไพรทางการแพทย โดยมุงเนนการพัฒนาดานการตลาด ควบคกับการพัฒนา
ู
ี
ิ่
ั
ระบบบริหารจัดการการผลิตที่มีประสิทธภาพ ดวยการใชเทคโนโลย นวตกรรม และภมิปญญาทองถน
ิ
ู
ั
ู
รวมทั้งการพัฒนาพื้นที่ที่มีศกยภาพใหเปนศนยกลางการผลิตและการกระจายสินคาเกษตร โดยมีแนวทาง
การพัฒนา ไดแก
(1) เสริมสรางผลิตภาพการผลิตผลไมของภาคตะวันออกใหมีประสิทธิภาพและ เปนมิตรตอ
ั
สิ่งแวดลอม และสอดคลองกับความตองการของตลาด นาไปสูการพัฒนาใหภาคตะวนออกเปนมหานคร
ํ
ู
ิ
ั
ี
ผลไมเมืองรอนแหงเอเชย ดวยการใชเทคโนโลย นวตกรรมและงานวจัย ควบคกับภมิปญญาทองถน
ี
ู
ิ่
และระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธภาพ ทั้งการเพาะปลูกและการแปรรูปตามศกยภาพการผลิตของ
ิ
ั
เกษตรกรและวสาหกิจชมชนของแตละพื้นที่ สนบสนนการรวมกลุมของเกษตรกร สงเสริมการประกันภย
ั
ิ
ุ
ั
ุ
ิ
การเกษตร พัฒนาตลาดใหเขาสูระบบธุรกิจพาณชยอิเล็กทรอนกส (E-commerce) และตามความตองการ
ิ
เฉพาะของลูกคา (Customized Marketing) พัฒนาระบบการเก็บรักษาและการขนสงสินคา เพื่อลดตนทุน
และการสูญเสียและเสริมสรางศักยภาพของโครงสรางพื้นฐานดานการเกษตรและระบบฐานขอมูลการเกษตร
ทั้งขอมูลดานการผลิต (Supply Side) และความตองการผลผลิต (Demand Side) และผลิตภัณฑเกษตรทั้ง
ั
ู
ในประเทศและตางประเทศใหเหมาะสม รวมทั้งพัฒนาจังหวดจันทบุรีใหเปนศนยกลางการรวบรวมผลผลิต
และการกระจาย สินคาผลไมคุณภาพไดมาตรฐาน