Page 163 -
P. 163

ิ
                               ื
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                            ิ
                                                                             ิ
                                                                 ิ
                                               ์
                                                                                                    3-43

                                                                                ้ํ
                                               ิ
                                                                                               ั
                              (2) พัฒนาประสิทธภาพการเพาะเลี้ยงและแปรรูปสัตวนาเศรษฐกิจที่สําคญของภาค
                                                                              
               ตะวนออก อาทิ กุงทะเล ปูทะเล ปลากะพงขาว จระเข และกุงกามกราม เพื่อเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกร
                   ั
                                                              
                                                                                           
                                                    
                                   
                            ุ
                    ิ
                                         ึ
                                                             ี
                                                                                                  ั
               และวสาหกิจชมชนอยางทั่วถง โดยการใชเทคโนโลยในการจัดการฟารม การวจัยและพัฒนานวตกรรม
                                                                                   ิ
               ในการเพาะพันธุและการเลี้ยงสัตวน้ํา รวมทั้งการแปรรูปสัตวน้ําที่มีคุณภาพและลดตนทุนการผลิต สนบสนน
                                                                                                       ุ
                                                                                                   ั
               การรวมกลุมของเกษตรกร สงเสริมการประกันภยการเกษตร และสงเสริมการทําประมงชายฝงและทะเล
                                                        ั
                                                                                     ั
                                                                                       ิ
                                        ั
                  
               อยางรับผิดชอบบริเวณจังหวดชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด โดยเสริมสรางสวสดภาพแรงงานประมง
                               ุ
               สงเสริมและควบคมการจับสัตวนาตามศกยภาพการผลิต และอนรักษและฟนฟูทรัพยากรทางทะเลและ
                                                                       ุ
                                                  ั
                                            ้ํ
                                                                           
                                           
               ชายฝงบนพื้นฐานการมีสวนรวมของทุกภาคสวน
                                       ั
                              (3) ยกระดบพืชสมุนไพรใหเปนธรกิจสมุนไพรสูตลาดสากล (จังหวดปราจีนบุรี จันทบุรี
                                                                                       ั
                                                          ุ
                                                                                                ั
                                                      ั
                                                          ุ
                                                                 
               และสระแกว) และพัฒนาพืชพลังงานเพื่อสนบสนนการใชพลังงานทดแทนของประเทศ (จังหวดสระแกว
               ชลบุรี ปราจีนบุรี ฉะเชิงเทรา จันทบุรี และระยอง) โดยการใชเทคโนโลยและนวตกรรมสมัยใหมในการผลิตพืช
                                                                         ี
                                                                               ั
                                                                 
               สมุนไพร เพื่อการพาณิชยใหไดมาตรฐานเกษตรอินทรีย การแปรรูปสมุนไพรใหมีคุณภาพตามมาตรฐานสากล
               ตรงตามความตองการของตลาดทั้งในและตางประเทศ และเรงเพิ่มชองทางการจัดจําหนายพืชสมุนไพรและ
                                                                                        
                                                                                                    ้ํ
                                                   ั
                                                                                         
                                                                         ุ
               ผลิตภัณฑสมุนไพร รวมทั้งสงเสริมใหจังหวดปราจีนบุรี เปนตนแบบธรกิจสมุนไพร ทั้งตนนา กลางนาและ
                                                                   
                                                                                            ้ํ
                                                                          ุ
                                ี้
                                                                                                 ิ
               ปลายน้ํา นอกจากนสงเสริมการผลิตมันสําปะหลังและออยโรงงานที่มีคณภาพ เสริมสรางประสิทธภาพการ
               ผลิตไบโอเอทานอล และสงเสริมใหจังหวดสระแกวและชลบุรีเปนศนยกลางการผลิตพืชพลังงานของภาค
                                                                        ู
                                                  ั
                                                                           
               ตะวันออก
                                                                                           
                                                                                    
                                                                                               ั
                              (4) เสริมสรางศักยภาพการผลิตและพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินคาปศุสัตว สําคญของภาค
                                                                                                   
                                                              ิ
               ตะวันออก ไดแก สุกร ไก และโค ในจังหวดชลบุรี ฉะเชงเทรา และสระแกวใหสอดคลองกับความตองการ
                                                  ั
               ของผูบริโภคทั้งในและตางประเทศ โดยการสงเสริมใหเกษตรกรสามารถใชเทคโนโลยการผลิตที่ทันสมัย
                                    
                                                                                
                                                                                         ี
               และมีพันธุสัตวที่มีคุณภาพไดมาตรฐานปลอดภัย การสนบสนนการรวมกลุมของเกษตรกร การสงเสริมการ
                                                                  ุ
                                                              ั
               ประกันภัยการเกษตร และการสงเสริมใหเกษตรกรทําการเลี้ยงปศุสัตวที่มีพันธสัญญากับผูแปรรูปรวมทั้งการ
               พัฒนาระบบบริหารจัดการตลาดใหมีประสิทธิภาพ

               3.7 สรุป
                                                                            ิ
                                                                        ํ
                                                                                            ี
                                                                                               ึ
                       บทนเปนการทบทวนการพัฒนาภาคตะวนออกที่ดาเนนการมาจากอดตถงปจจุบัน
                           ี้
                                                               ั
                                                    ิ
               โดยจะครอบคลุมรวม 5 เรื่อง คอ (1) แนวคดในการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ (2) การพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝง
                                          ื
               ทะเลตะวนออก (Eastern Seaboard: ESB) (3) เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ)
                        ั
                                               ั
               (4) แผนงานเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก (Eastern Economic Corridor : EEC) และ(5) กรอบพัฒนา
               ภาคตะวันออก พ.ศ. 2566-2570 โดยมีรายละเอียดดังน  ี้
                       3.7.1 แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ
                       แนวคิดในการพัฒนาพื้นที่เฉพาะเกิดขึ้นเนื่องจากกิจกรรมการผลิตสวนใหญรวมตวอยในภาคกลาง
                                                                                          ั
                                                                                              ู
               โดยเฉพาะบริเวณกรุงเทพมหานคร ไมไดกระจายไปสูภมิภาค มีผลใหเมืองอื่นในภมิภาคมีอัตราการเตบโต
                                                                                                     ิ
                                                              ู
                                                                                    ู
                                                  
                                
                                       ุ
                         
                     
                                                                    ิ
               คอนขางชามาก ดวยเหตผลดงกลาวน รัฐบาลไดมีแนวคดในการพัฒนาพื้นที่เฉพาะ รวม 5 แหง
                                                   ี้
                                                             
                 
                                           ั
                                                       
                       ั
                                                                                                   ั
                                   ึ่
                                            ั
               ภาคตะวนออกเปนหนงในพื้นที่ดงกลาว จึงไดจัดทําโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวนออก
               (Eastern Seaboard: ESB) ขึ้นในป พ.ศ. 2524
   158   159   160   161   162   163   164   165   166   167   168