Page 133 -
P. 133
ิ
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ื
์
ิ
ิ
3-13
ตอมาในวันที่ 17 กุมภาพันธ พ.ศ.2530 คณะรัฐมนตรีไดมีมติเห็นชอบที่จะใหการปโตรเลียม
ํ
ิ
ี
ิ
แหงประเทศไทย ดาเนนโครงการกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาตหนวยที่ 2 ในบริเวณเดยวกับหนวยที่ 1
ใชงบประมาณ 2,057 ลานบาท โดยมีขนาดแยกกาซธรรมชาติไดวันละ 250 ลานลูกบาศกฟุต
ิ
โครงการโรงแยกกาซธรรมชาต หนวยที่ 2 มีขนาดแยกกาซไดวนละ 200-250 ลานลูกบาศกฟุต
ั
ี
ู
ุ
ั
และตงอยบริเวณเดยวกับหนวยที่ 1 โดยลักษณะกระบวนการผลิตคลายกับหนวยที่ 1 ดวยวตถประสงค
ั้
ํ
สําคัญเพื่อสนองตอบความตองการใชกาซหุงตมที่ขยายตัวเพิ่มขึ้นมากจนตองมีการนาเขามาทดแทน รวมทั้ง
แยกกาซโปรเพน กาซอีเทน และกาซโซลีนธรรมชาติดวย
โรงแยกกาซธรรมชาต หนวยที่ 2 เปดดาเนนงานอยางเปนทางการเมื่อวนที่ 21 มกราคม
ั
ํ
ิ
ิ
ํ
ั
ุ
พ.ศ.2534 เปนโครงการที่ใหผลตอบแทนตอการลงทุนอยางคมคา สามารถประหยดการนาเขา แอลพีจี
ิ
ั
กาซโปรเพน กาซอีเทน และกาซโซลีนธรรมชาต ไดปละกวา 1,600 ลานบาท อีกทั้งยงแยกกาซเพื่อใชเปน
เชื้อเพลิงแทนน้ํามันเตาไดอีกปละกวา 600 ลานบาท
โรงแยกกาซ 3 การปโตรเลียมแหงประเทศไทยจึงกอสรางโรงแยกกาซธรรมชาต หนวยที่ 3
ิ
ิ
ในบริเวณเดียวกับหนวยที่ 1 และ 2 มีขนาดกําลังการผลิตวนละ 350 ลานลูกบาศกฟุต โดยเริ่มดาเนนการ
ํ
ั
ผลิตในเดือนมกราคม พ.ศ.2540 โรงแยกกาซธรรมชาต กระแสไฟฟาโดยมีกําลังการผลิตจากเครื่องกําเนด
ิ
ิ
ไฟฟาชนิดกังหันกาซ Gas Turbine generator จํานวน 2 หนวย สามารถผลิตกระแสไฟฟารวมทั้งสิ้น 26.5
เมกะวัตต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหแกกระบวนการแยกกาซธรรมชาติดวย
ประโยชนตอสวนรวมที่จะไดจากโรงแยกกาซธรรมชาต ิ
1. ชวยประหยัดเงินตราตางประเทศ โดย ประหยัดคาเชื้อเพลิงที่เคยนําเขา และลดการ
นําเขาวัตถุดิบที่โรงแยกกาซฯ และอุตสาหกรรมตอเนื่องผลิตไดปหนึ่งๆ กวาพันลานบาทขึ้นไป
2. ลดตนทุนวัตถุดิบทางอุตสาหกรรม และทําใหอุตสาหกรรมขนาดเล็กเกิดขึ้นได และมี
ํ
โอกาสเติบโตพัฒนาตอไป ไปอนาคตอาจจะขยายกําลังผลิตจนสามารถสงออกไปขายตางประเทศนารายได
เขาประเทศเพิ่มขึ้นทางหนึ่งดวย
ั
3. ชวยสงวนรักษาทรัพยากรของประเทศ และลดการตดไมทําลายปาลงไดอยางมาก
เมื่อประชาชนหันมาใชกาซหุงตมหรือแอลพีจี แทนฟนและถานไม และแทนที่จะนากาซธรรมชาตไปเผาไหม
ํ
ิ
แตอยางเดยว การทํางานของโรงแยกกาซธรรมชาตยงสามารถแยกเอากาซที่มีคาออกมาใชประโยชนอื่นๆ
ี
ิ
ั
ไดอยางเต็มที่
4. ชวยเสริมสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจ ดวย การลดการพึ่งพาดานพลังงานจาก
ิ
ตางประเทศ และสามารถผลิตวัตถุดิบพื้นฐานสําหรับอุตสาหกรรมยอยหลายชนดเปนการประกันการเตบโต
ิ
ทางเศรษฐกิจของชาติ และสงผลใหเกิดความมั่นคงทางดานอื่นๆ ตามมาดวย การเสริมสรางความมั่นคงทาง
พลังงานของประเทศ ดวยการจัดหากาซธรรมชาติจากประเทศเพื่อนบาน
ความสําเร็จของโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก (ESB) ในอดีต
ั
ิ
ึ
ั
สํานกงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวนออก (2561: 4-1) ไดวเคราะหถง
ความสําเร็จในอดีตไวดังน ี้
ั
“โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวนออก (Eastern Seaboard: ESB)
ิ
ํ
เมื่อป พ.ศ. 2524 โดยกําหนดพื้นที่เปาหมายในการดาเนนการระยะแรกที่ประกอบดวย (1) บริเวณมาบตาพุด
จังหวัดระยอง ซึ่งมีเปาหมายในการพัฒนาอุตสาหกรรมหลักที่ใชกาซธรรมชาตเปนวตถดบและอุตสาหกรรม
ิ
ุ
ั
ิ
ั
ตอเนอง และ (2) บริเวณแหลมฉบัง จังหวดชลบุรี สําหรับเปาหมายในการพัฒนาอุตสาหกรรมเบาและ
ื่