Page 129 -
P. 129
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
3-9
ุ
ํ
ิ
ิ
ิ
ั
วนที่ 15 พฤศจิกายน 2531 คณะรัฐมนตรีมีมตเห็นชอบและอนมัตใหดาเนนการตามมต ิ
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก ในการประชุมครั้งที่ กพอ. 3/2531
เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2531 เรื่องภาพรวมของการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวนออก และสถานะปจจุบัน
ั
็
ของโครงการในพื้นที่เปาหมายแหลมฉบังและมาบตาพุด รวมทั้งประเดนที่จะตองพิจารณา
ตอไป 5 และ 10 โครงการตามลําดับ เชน ผังเมืองรวมแหลมฉบัง โครงการเคหะชมชนสําหรับผูมีรายไดนอย
ุ
และแนวทางขยายเขตอุตสาหกรรมที่มาบตาพุด ซึ่งมีแนวทางการพัฒนาในระยะตอไป 5 เรื่อง คือ การพัฒนา
แหลงน้ําการคมนาคมทางบกและน้ําระบบการสื่อสารโทรคมนาคม สวนแนวทางการบริหารงานเรื่องแนวทาง
และขั้นตอนการจัดองคกรถาวรเพื่อบริหารงานการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวนออกและสํานกงาน
ั
ั
คณะกรรมการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกกับสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาต รับผิดชอบดําเนินการตอไปภายในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัฒนาพื้นที่ชายฝง
ิ
ทะเลตะวันออก พ.ศ. 2528
วันที่ 9 พฤษภาคม 2532 คณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัต ใหการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย
ิ
ทําสัญญาผูกพันขามปงบประมาณในการจางเหมาทําการกอสราง ทาเรืออุตสาหกรรม มาบตาพุด
ในวงเงิน 1,782.00 ลานบาท ในปงบประมาณ 2532-2535 ตามระยะเวลากอสราง 29 เดอน กอนลงนาม
ื
ในสัญญาจางตามความเห็นของสํานักงบประมาณ
ั
วันที่ 31 ตุลาคม 2532 คณะรัฐมนตรีมีมติรับทราบการเสนอขาวของหนงสือพิมพวามีสาร
ั
ปรอทรั่วในทอสงกาซและโรงงานแยกกาซที่นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง จนสงผลใหพนกงาน
ี้
และเจาหนาที่ของการปโตรเลียมแหงประเทศไทยลมปวยลงบางสวน ซึ่งเรื่องนรัฐมนตรีวาการกระทรวง
ํ
ุ
อุตสาหกรรมชแจงวาไมเปนความจริง เมื่อโรงงานฯ ตรวจพบวาทอสงกาซชารุด ก็ไดทําการหยดซอมแลว
ี้
และจากการตรวจรางกายของพนักงานและเจาหนาที่ก็ปรากฎวาคาเฉลี่ยของสารปรอทในเลือดอยในระดบ
ู
ั
ปกติต่ํากวาระดับอันตราย
ิ
วันที่ 7 พฤศจิกายน 2532 คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบตามมตของคณะอนกรรมการกํากับ
ุ
ดูแลการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก ในการประชุม ครั้งที่ อพอ.4/2532 เมื่อวนที่ 13 กันยายน 2532
ั
ิ
คอ การบริหารและจัดการทาเรือพาณชยแหลมฉบังใหทาเรือกรุงเทพมหานคร ทาเรือสัตหีบ และทาเรือ
ื
แหลมฉบังขึ้นอยูกับคณะกรรมการการทาเรือแหงประเทศไทย และโครงการนิคมอุตสาหกรรมและชุมชนใหม
ิ
มาบตาพุดระยะที่ 2 และอนุมัติใหดําเนินการตอไปได เมื่อคณะกรรมการบริหารการทาเรือแหงชาตกําหนด
นโยบายโดยสวนรวมแลว ใหเสนอรัฐมนตรีวาการกระทรวงคมนาคมดวย
3.2.3 การพัฒนาในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539)
ิ
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2534: 119-120) ไดกําหนดการ
พัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออกใหสมบูรณยิ่งขึ้นไวในแผนพัฒนาฯ บทที่ 7 การพัฒนาภาคมหานคร
และเขตเศรษฐกิจใหม ดังน ี้
ิ่
ึ้
“การพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวนออกใหสมบูรณยงขน พื้นที่บริเวณชายฝงทะเล
ั
ตะวนออก เปนฐานอุตสาหกรรมหลักและประตเศรษฐกิจใหมของประเทศ ที่จะชวยรองรับการขยายตว
ั
ั
ู
ทางดานอุตสาหกรรม และลดความแออัดของกรุงเทพมหานครและปริมณฑลประกอบดวย (1) พื้นที่
ั
ั
เปาหมายแหลมฉบังจังหวดชลบุรีซึ่งจะเปนเมืองทาสมัยใหมของประเทศ มีทาเรือพาณชยระดบ
ิ
มาตรฐานสากล สําหรับขนสงสินคาตูคอนเทนเนอร เขตนิคมอุตสาหกรรมทั่วไป และเขตอุตสาหกรรมสงออก
(2) พื้นที่เปาหมาย มาบตาพุด จังหวดระยอง ซึ่งจะเปนเมืองอุตสาหกรรมสมัยใหมของประเทศ มีทาเรือ
ั