Page 127 -
P. 127

โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                                  ิ
                                            ิ
                                                                 ิ
                                               ์
                                                                             ิ
                               ื
                                                                                                     3-7

                                     (5) การพัฒนาเคหะชุมชน กําหนดนโยบายกอสรางในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6
                                                                                   
               ใหสอดคลองกับแผนพัฒนาอุตสาหกรรมหลักในระยะแรก โดยรัฐจะดาเนนการกอสรางที่พักอาศยสําหรับ
                                                                             ิ
                                                                          ํ
                                                                                                 ั
                                                                                     ี
                                            ั
                                        ู
               แรงงานที่จะอพยพเขามาอยอาศยพรอมครอบครัวบริเวณมาบตาพุด ในขณะเดยวกันก็จะสนบสนนให
                                  
                                                                                                ั
                                                                                                     ุ
               ภาคเอกชนลงทุนควบคูไปดวย
                                     (6) การพัฒนาการศึกษาและสังคม กําหนดเริ่มพัฒนาในชวงแผนพัฒนา ฯ ฉบับที่ 6
                                                                                   
                                                                                        
               เพื่อสนับสนุนการพัฒนาอุตสาหกรรมหลักและชุมชนในบริเวณมาบตาพุด ซึ่งประกอบดวย แผนงานพัฒนา
               การศึกษา แผนงานพัฒนาแหลงชุมชน แผนงานพัฒนาสาธารณสุข แผนงานพัฒนาความปลอดภัยในชีวิตและ
               ทรัพยสินแผนงานการพัฒนาองคกรการบริหารงานทองถิ่น

                                                                     ิ
                                                                                  ํ
                                                                                            
                                                                         ้ํ
                              3.2 พื้นที่บริเวณแหลมฉบัง พัฒนาทาเรือพาณชยนาลึกเพื่อนาประเทศเขาสูวงจรระบบ
                                                                        
               ขนสงทางทะเลของโลก และสอดคลองกับเทคโนโลยีการขนสงสินคาประเภทบรรจุต (สินคาคอนเทนเนอร)
                                                                                           
                                                                       
                                                                                     ู
               พรอมเขตนิคมเพื่อการสงออก ศูนยพาณิชยกรรม และเขตนิคมอุตสาหกรรมสําหรับอุตสาหกรรมที่ไมมีปญหา
               ดานสิ่งแวดลอม กลาวคือ
                                     (1) ทาเรือพาณิชยแหลมฉบัง เปนทาเรือน้ําลึกสําหรับการขนถายสินคาคอนเทนเนอร
               เปนหลัก สามารถรับเรือขนาด 140,000 ตันไดตลอดป
                                     การพัฒนาระยะแรก กําหนดกอสรางใหแลวเสร็จสามารถรับเรือสินคาคอนเทนเนอร
                                                                                            
               ขนาด 2,000TEU (ประมาณ 30,000 ตัน) ไดกอน ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 ประกอบดวย
                                            - ทาเทียบเรือสําหรับสินคาคอนเทนเนอร 3 ทา ทาสินคาเกษตร 1 ทา
               ทาขนสงน้ําตาล 1 ทา และทาสินคาทั่วไป 1 ทา
                                            - เขื่อนกันคลื่นยาว 1,300 เมตร
                                            - ความลึกรองน้ํา 12.5 เมตร
                                     (2) นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง การพัฒนาระยะแรกกําหนดกอสรางใหแลวเสร็จ
               ครอบคลุมพื้นที่ 1,790 ไร ในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 ประกอบดวย เขตนิคมอุตสาหกรรมทั่วไป 1,367 ไร

               และเขตนิคมอุตสาหกรรมเพื่อการสงออก 423 ไร
                                     (3) ทอสงน้ําหนองคอ-แหลมฉบัง กําหนดกอสรางใหแลวเสร็จในชวงแผนพัฒนาฯ
               ฉบับที่ 6 เพื่อสงน้ําแกทาเรือแหลมฉบัง นิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง และชุมชนบริเวณใกลเคียง

               ประกอบดวย
                                            - ทอสงน้ําขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.90 เมตร ระยะทาง 14 กิโลเมตร
                                            - สามารถสงน้ําไดปละ 22 ลานลูกบาศกเมตร
                                     (4) ทางรถไฟสายศรีราชา-แหลมฉบัง กําหนดสรางใหแลวเสร็จในชวงแผนพัฒนาฯ

               ฉบับที่ 6 เพื่อเชื่อมเขตนิคมอุตสาหกรรมแหลมฉบัง และทาเรือกับทางรถไฟสายฉะเชิงเทรา-สัตหีบ
                                     (5) ระบบสื่อสาร/โทรคมนาคม/ไฟฟา กําหนดเริ่มพัฒนาในชวงของแผนพัฒนาฯ
                                                                                        
               ฉบับที่ 6 ใหสอดคลองและเพียงพอกับความตองการอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดยอม และชุมชนที่เกิด
               ในบริเวณพื้นที่เปาหมายแหลมฉบัง

                                                      ุ
                                     (6) การพัฒนาเคหะชมชน กําหนดนโยบายการพัฒนาในชวงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6
                                                                                    
               โดยสงเสริมใหเอกชนมาลงทุนกอสรางที่พักอาศัยสําหรับแรงงาน และครอบครัวที่จะอพยพเขามาในบริเวณ
                                                                                             
               พื้นที่เปาหมายแหลมฉบัง โดยรัฐจะเปนผูจัดเตรียมโครงสรางพื้นฐานหลักที่จําเปนสําหรับแหลงชุมชนให
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132