Page 130 -
P. 130

ิ
                                                                 ิ
                                               ์
                                                                             ิ
                 โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
                               ื
                                  ิ
                                                                                                    3-10

               อุตสาหกรรมสําหรับขนถายวัตถุดิบสินคาทั่วไป และสินคาของเหลวทางเคมี พรอมกับมีเขตนิคมอุตสาหกรรม
               สําหรับรองรับอุตสาหกรรมขนาดใหญ เชน โรงงานปโตรเคมี และโรงกลั่นน้ํามันรวมตลอดทั้ง (3) ชุมชนเมือง
               ศูนยกลางความเจริญของภาค ไดแก ชลบุรี ระยอง ฉะเชิงเทรา

                                 ั้
                              ดงนน เพื่อใหการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการขยายตวของเมืองออกจากเขต
                                                                                     ั
                               ั
                                                                         ั
               พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑลสูเขตพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวนออก บรรลุเปาหมายการพัฒนาที่จะ
                                                    
               ใหพื้นที่ทั้งสองเขตเชอมโยงเปนระบบโครงขายชุมชนเมืองเดยวกันตลอดจนเพื่อเชื่อมโยงประตูเศรษฐกิจใหม
                                                                 ี
                                 ื่
               ของประเทศเขากับพื้นที่ตอนในของประเทศ โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวนออกเฉยงเหนอ ใหสามารถ
                                                                                ั
                                                                                             ื
                                                                                       ี
               เปดออกสูการคากับนานาชาติไดโดยตรง จึงกําหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวนออกให
                                                                                                 ั
                                                ี้
                         ึ้
               สมบรูณยงขนสําหรับขั้นตอนตอไป ดังน
                       ิ่
                                                        
                                     3.2.1 เรงขยายโครงขายพื้นฐานหลัก โดยเฉพาะระบบถนน รถไฟ สื่อสารเพื่อ
               เชื่อมโยงพื้นที่เปาหมายบริเวณแหลมฉบัง มาบตาพุด ตลอดจนชมชนเมืองศนยกลางความเจริญ ของพื้นที่
                                                                               ู
                                                                     ุ
                                                                                  
                                    ั
                                                    
               บริเวณชายฝงทะเลตะวนออกเขตกับโครงขายของประเทศใหเปนระบบ เพื่อใหพื้นที่ตอนในของประเทศ
               สามารถใชประโยชนจากฐานเศรษฐกิจใหมน ไดอยางเต็มที่
                                                    ี้
                                                    ิ
                                                                        
                                                                            ุ
                                            
                                     3.2.2 เนนการปฏบัตงานตามแผนงานดานชมชน สังคม สิ่งแวดลอมและการ
                                                       ิ
               ปกครอง เพื่อจัดสรางชุมชนเมืองใหมแหลมฉบังและมาบตาพุด พรอมบริการพื้นฐานทางเศรษฐกิจ บริการ
               พื้นฐานทางสังคม ควบคูไปกับการวางระบบวิธีการบริหารชุมชน ใหสอดคลองกับระดับของการพัฒนา
                                                                   
                                                                                                     
                                                                                       
                                                                                                       ั
                                     3.2.3 วางระบบบริหารและจัดการดานบริการพื้นฐานหลักตางๆ ใหมีการแขงขน
               ดานการใหบริการ โดยใหภาคเอกชนเขามามีบทบาทมากยิ่งขึ้น เชน การบริหารจัดการทาเรือพาณิชย เปนตน”
                                                                                                

                       3.2.4 การพัฒนาในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544)
                       สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (2539: 81) ไดกําหนด “การพัฒนา
               พื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก ไวในสวนที่ 5 บทที่ 2 การพัฒนาศักยภาพทางเศรษฐกิจของพื้นที่ไวดังน  ี้
                                                                                          
                                                                            ั
                              “เพื่อเพิ่มขดความสามารถของพื้นที่ชายฝงทะเลตะวนออกใหสมบูรณ และพรอมที่จะ
                                       ี
               รองรับการกระจายกิจกรรมทางเศรษฐกิจและการเคลื่อนยายประชากร โดยเฉพาะจากกรุงเทพมหานครและ
                                                                        ั
                                                                                     ู
                              ิ่
                            ั้
                                                  ึ้
                                           ี้
               ปริมณฑลไปตงถนฐานในพื้นที่นไดเพิ่มขน ควบคไปกับการยกระดบใหเปนประตเศรษฐกิจของประเทศ
                                             
                                                         ู
               ที่สามารถเชื่อมโยงทางอากาศกับนานาชาติ นอกเหนือจากทางทะเลโดย
                                      (1) พัฒนาโครงขายระบบการขนสงตอเนื่องจากที่มีอยูแลว ดังน
                                                                                          ี้
                                            (1.1) พัฒนาโครงขายถนนสายใหมเชอมโยงพื้นที่ชายฝงทะเลตะวนออก
                                                                           ื่
                                                                                                   ั
               กับภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนลางและกลุมประเทศอินโดจีนและกอสรางถนนสายรอง เพื่อเปดพื้นที่ใหม
               ที่มีศักยภาพและพัฒนาเปนเขตอุตสาหกรรมและชุมชนเชื่อมโยงกับทาเรือแหลมฉบังและมาบตาพุด
                                            (1.2) ลงทุนระบบรถไฟความเร็วสูงเพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดีในการเดินทาง
               ของประชาชนเชื่อมโยง กรุงเทพมหานครกับทาอากาศยานสากลกรุงเทพแหงที่ 2 และแหลงชมชนชายฝง
                                                                                               ุ
               ทะเลตะวนออก
                       ั
                                     (2) สนบสนนใหมีการจัดตงนคม/เขตอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็ก
                                                               ิ
                                                            ั้
                                           ั
                                               ุ
               ในพื้นที่ตอนในที่มีศักยภาพเพื่อสงเสริมการลงทุนและจางงาน
   125   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135