Page 123 -
P. 123
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ื
3-3
ตอมาเมื่อวันที่ 19 มกราคม 2558 รัฐบาลไดประกาศเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (Special
Economic Zone: SEZ) ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559)
ิ
ั
ั
ั
ื
ซึ่งมีพื้นที่ในภาคตะวนออกรวมอยดวย 2 จังหวด คอ จังหวดตราด และจังหวดสระแกว และหลังจากนน
ู
ั
ั้
ั
รัฐบาลไดประกาศแผนงานพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวนออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
ิ
ซึ่งภายหลังเปลี่ยนชื่อเปน “เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก” เมื่อมีการประกาศใชพระราชบัญญัตเขตพัฒนา
ิ
พิเศษภาคตะวันออก” พ.ศ. 2561 ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)
ั
ตอมาสํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดจัดทํา “กรอบการพัฒนาภาคตะวนออก พ.ศ.
2566-2570” ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2565-2569)
ั
ซึ่งมีสาระสําคญและแผนงานในการภาคตะวันออกทั้งภาค
ั
จึงสรุปไดวา การพัฒนาภาคตะวนออกที่เริ่มจากโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลภาคตะวนออก
ั
เมื่อพ.ศ. 2524 ถึงปจจุบันจะมีโครงการหรือแผนงานพัฒนารวม 4 เรื่อง ดังน ี้
(1) การพัฒนาพื้นที่ชายฝงทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard : ESB)
(2) เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone: SEZ)
(3) เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (Eastern Economic Corridor: EEC)
(4) กรอบการพัฒนาภาคตะวันออก พ.ศ. 2566-2570
โดยมีรายละเอียดดังตอไปน ี้
3.2 การพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝงทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard: ESB)
การทบทวนในหัวขอนจะมีสาระสําคญทั้งนโยบายและเหตการณตางๆ ในแตละชวงแผนพัฒนา
ี้
ุ
ั
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) ถึงฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) โดยมีรายละเอียด
ดังน ี้
3.2.1 นโยบายและเหตการณในชวงแผนพฒนาเศรษฐกจและสังคมแหงชาต ฉบบท 5
ั
ั
ิ
ิ
ุ
ี่
(พ.ศ. 2525-2529)
(1) ความเปนมา
ิ
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต (2524: 131) ไดใหเหตผลใน
ุ
การกําหนดการพัฒนาพื้นที่ 3 จังหวัด ชายฝงทะเลตะวันออกไว ดังน ี้
ภาคตะวันออกนับวาเปนภาคที่มีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่นๆ
ของประเทศ ดังจะเห็นไดวาผลผลิตรวมของภาคในป 2522 มีสัดสวนถงรอยละ 13.4 ของผลผลิต รวมของ
ึ
ประเทศ และมีอัตราการขยายตัวในชวงป 2519–2522 รอยละ 12.4 ตอป สูงกวาของประเทศ และภาคอื่นๆ
ื
ทั้งหมด สาขาการผลิตที่มีสัดสวนสูงสุดในการผลิตของภาค คอ สาขาอุตสาหกรรม สูงถงรอยละ 30.8
ึ
ของผลผลิตรวมของภาค ทั้งนเนื่องจากภาคตะวันออกมีขอไดเปรียบเทียบในดานแหลงที่ตั้ง คืออยูไมหางไกล
ี้
จากกรุงเทพมหานครมากนั้น และมีพื้นที่ติดตอเชื่อมโยงกับภาคตะวนออกเฉยงเหนอ ซึ่งเปนแหลงที่มาของ
ื
ี
ั
ั
ิ
ุ
ั
ิ
แรงงานและวตถดบหลายอยางและตดกับอาวไทยอันเปนชองทางเขาออกที่สําคญของสินคา นอกจากนน
ั้
ั
ื่
ภาคตะวนออกมีปจจัยพื้นฐานคอนขางสมบูรณ คือมีโครงขายดานคมนาคมและสื่อสารเชอมโยงที่ด มีทาเรือ
ี
ึ้
้ํ
ํ
ู
ิ
ี้
นาลึกและเปนประตที่จะนากาซธรรมชาตขนบก เปนตน สิ่งเหลานไดจูงใจใหเอกชนเขามาลงทุนพัฒนา
ื่
อุตสาหกรรม ตอเนองทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลางและขนาดใหญหลายประเภท จากสภาพภมิศาสตรและ
ู
ั
เศรษฐกิจที่เอื้ออํานวยตอการพัฒนาดังกลาวขางตน รัฐบาลจึงไดกําหนดนโยบายที่จะพัฒนาพื้นที่ 3 จังหวด