Page 122 -
P. 122
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
3-2
ฉะนั้น แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 จึงไดกําหนดแนวทางที่จะกระจายความเจริญและกิจกรรม
ั
เศรษฐกิจไปสูสวนภมิภาค โดยไดคดเลือกพัฒนา “พื้นที่เฉพาะ 5 แหง” และ “พัฒนาระบบเมือง”
ู
ในสวนภูมิภาคใหเขามามีสวนเสริมในการปรับโครงสรางการผลิตดานการเกษตรและอุตสาหกรรมใหไดผล
ิ่
ยงขึ้นอีกทางหนงกลาวคอ ไดคดเลือกพื้นที่เฉพาะแถบชายฝงทะเลดานตะวนออกของอาวไทย ภาคตะวนตก
ั
ั
ึ่
ั
ื
บริเวณชายแดนของภาคเหนอ ภาคตะวนออกเฉยงเหนอและภาคใต เพื่อทําการเรงพัฒนาเปนกรณพิเศษ
ื
ี
ั
ื
ี
ใน 5 ปขางหนา ซึ่งจะมีสวนในการแกปญหาทางดานความมั่นคงตามบริเวณชายแดนไดดวย ขณะเดยวกันได
ี
กําหนดที่จะ “พัฒนาระบบเมืองหลักและเมืองรอง” ขนในภาคตางๆ ตลอดทั้งพัฒนากรุงเทพมหานคร
ึ้
ี
ุ
ไปในลักษณะที่จะชวยสรางความสมดล “ระบบเมือง” ไดดขนในอนาคต ทั้งนเพราะประชากรในเมืองจะ
ี้
ึ้
ุ
ั้
ั
ั
ขยายตวใน 10 ปขางหนา ในอัตราที่สูงกวาที่แลวมามาก การวางแผนพัฒนาระบบชมชนระดบเมืองนน
จึงจําเปนอยางยิ่ง มิฉะนั้นแลวจะมีการอพยพหลั่งไหลเขากรุงเทพมหานคร สรางความแออัดและความเสื่อมโทรม
ี
ทวมากขนกวาปจจุบันหลายเทา
ึ้
ู
การพัฒนาพื้นที่เฉพาะ 5 แหง และการพัฒนาระบบเมืองหลักในสวนภมิภาคและ
กรุงเทพมหานคร มีดังนี้ คือ
ั
ั
ื
(1) พื้นที่ 3 จังหวดชายฝงทะเลภาคตะวนออก คอ ชลบุรี ระยอง และ
ฉะเชิงเทรา จะไดรับการพัฒนาใหเปน “แหลงอุตสาหกรรมหลัก”ของประเทศในอนาคตตามแผนการปรับ
โครงสรางอุตสาหกรรมใน 5 ปขางหนา ซึ่งจะมีสวนชวยกระจายอุตสาหกรรมไมใหไป รวมตวกันตามบริเวณ
ั
ื
ี
ั
กรุงเทพมหานคร และจะเปนการพัฒนาภาคตะวนออกใหเชอมโยงกับการพัฒนาภาคตะวนออกเฉยงเหนอ
ั
ื่
ไดผลยิ่งขึ้น
ั
้ํ
(2) พื้นที่เฉพาะในภาคตะวันตก โดยเฉพาะในเขตจังหวดที่มีการผลิตออย นาตาล
ั
และสับปะรดกระปองตลอดทั้งตามบริเวณชายฝงภาคตะวนตกที่กิจการประมง และการทองเที่ยวไดทรุดตวลง
ั
จะไดมีการพัฒนาบูรณะขึ้นเปนพิเศษ
(3) พื้นที่ภาคตะวนออกเฉียงเหนือตอนลางและพื้นที่ภาคเหนือตอนบน จะไดมีการ
ั
พัฒนาเพิ่มประสิทธภาพการใชและการบูรณะทรัพยากรที่ดน แหลงนา ปาไม เปนพิเศษเพื่อชวยในการเพิ่ม
ิ
้ํ
ิ
ผลผลิตดานการเกษตรและแกปญหาความยากจนตามบริเวณชายแดนดวย
(4) พื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต มีจุดประสงคที่จะพัฒนาปรับโครงสรางเศรษฐกิจ
ั
และการผลิตในบริเวณดงกลาวใหกระจายมากขน และจะพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนในลักษณะที่จะให
ึ้
“หันหนา”เขาสูระบบการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศมากยิ่งขึ้น ซึ่งจะมีสวนในการแกปญหาดานสังคมและ
เสริมสรางความมั่นคงในบริเวณชายแดนภาคใตใหมากขึ้น
(5) การพัฒนา “เมืองหลัก เมืองรองและชุมชนชนบท” และการชะลอการขยายตัว
ั
ของกรุงเทพมหานคร มีจุดประสงคที่จะพัฒนาชุมชนระดับเมืองของประเทศใหสามารถ รองรับการขยายตว
ุ
ของประชากรในเมืองที่จะมีมากขึ้นในระยะ 10 ปขางหนาใหมี “ระบบชุมชนระดับเมือง” ที่มีลักษณะสมดลมากขน
ึ้
ู
ั้
และใหเมืองตางๆ ในสวนภมิภาคไดมีบทบาทเปนฐานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของภาคนนๆ ไดดวย
โดยพยายามจะลดบทบาทและอิทธิพลของกรุงเทพมหานครลงในขณะเดียวกัน
ํ
จากแนวคิดการพัฒนาพื้นที่เฉพาะดังที่กลาวนี้ รัฐบาลไดเริ่มดาเนนการพัฒนาพื้นที่ชายฝง
ิ
ทะเลตะวันออก (Eastern Seaboard: ESB) ในป พ.ศ. 2524 ในชวงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529)