Page 138 -
P. 138
ิ
ื
โครงการหนังสออเล็กทรอนกสด้านการเกษตร เฉลมพระเกียรตพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ิ
ิ
ิ
์
3-18
3.3.4 นโยบายสนับสนุนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ภายหลังการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษแลวไดมีนโยบายสนับสนุน คือ (1) แผนยอยภายใตยุทธศาสตร
ิ
ชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) และ (2) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ฉบับที่ 13 (พ.ศ. 2566-2569)
โดยมีรายละเอียดดังน ี้
(1) แผนยอยการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
ในแผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ 20 ป (พ.ศ. 2561-2580) มีการกําหนดแผนยอยการ
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนไวดังน ี้
“แผนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน มีวัตถุประสงคสําคัญใหเกิดการกระจายความ
เจริญสูภมิภาคโดยใชโอกาสจากศกยภาพของพื้นที่และการมีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เพื่อลดความ
ู
ั
เหลื่อมล้ําทางรายไดยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน และเสริมสรางความมั่นคงในพื้นที่บริเวณชายแดน
ั
ื่
ั
รวมทั้งเพิ่มความสามารถในการแขงขนและการเชอมโยงกับประเทศเพื่อนบาน โดยใหความสําคญกับการ
พัฒนาเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดนใน 10 จังหวด ไดแก ตาก เชยงราย หนองคาย นครพนม
ั
ี
มุกดาหาร สระแกว ตราด สงขลา นราธิวาส และกาญจนบุรี
(1) แนวทางการพัฒนา
(1.1) สงเสริมและอํานวยความสะดวกในการลงทุน เพื่อดงดดการลงทุน
ึ
ู
ทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยใหสิทธิประโยชนทั้งทางดานภาษและมิใชภาษเพื่อจูงใจใหเกิดการลงทุน
ี
ี
ุ
เพิ่มประสิทธภาพของศนยบริการเบ็ดเสร็จโดยเฉพาะการใหมีอํานาจในการอนมัตอนญาตแบบเบ็ดเสร็จ
ุ
ิ
ู
ิ
ในพื้นที่และพัฒนาดาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการอํานวยความสะดวกในการผานแดน
(1.2) สงเสริมใหเกิดการพัฒนาพื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน
ู
ิ
ั
ตามศกยภาพ โดยพัฒนาตอยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ที่มีอยเดม รวมทั้ง
ั
ยกระดับความสามารถในการแขงขนของพื้นที่ใหเอื้อตอการคา การลงทุน และการทองเที่ยวและเปนพื้นที่
ั
หลักในการขบเคลื่อนการสรางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในสวนภมิภาค ตลอดจนพัฒนาพื้นที่
ู
บริเวณชายแดนใหมีความพรอมสําหรับรองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมที่เชอมโยงกับประเทศเพื่อน
ื่
ี
ิ
บาน ซึ่งจะชวยสรางมูลคาเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยกระดับรายไดและคุณภาพชวตของประชาชนในพื้นที่ รวมทั้ง
สงเสริมความสามารถในการแขงขันของประเทศในภาพรวม
(1.3) ใชประโยชนและพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม
ู
อาทิ โครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม พลังงาน ระบบนาประปา ที่อยอาศย โรงพยาบาล และสถานศกษาที่
ึ
้ํ
ั
ิ
สอดรับกับความตองการของพื้นที่ และมีกลไกที่สามารถรองรับภัยพิบัตทางธรรมชาต การเฝาระวง ปองกัน
ิ
ั
ู
ควบคุมโรคติดตอในพื้นที่และเมือง รวมทั้งรองรับการพัฒนาพื้นที่และเมืองนาอย
(1.4) เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการพื้นที่พิเศษ โดยศกษากฎหมาย
ึ
และกฎระเบียบที่มีอยูเพื่อปรับปรุงและจัดทําขอเสนอกฎหมายและกฎระเบียบ และจัดทําระบบฐานขอมูล
เพื่อใหเอื้อตอการพัฒนาเชิงพื้นที่การพัฒนาธุรกิจรูปแบบใหม และการสงเสริมการลงทุนรวมระหวางรัฐและ
เอกชน รวมทั้งสงเสริมและอํานวยความสะดวกในการลงทุนในอุตสาหกรรมและบริการเปาหมายและ
นําเทคโนโลยีสมัยใหม มาใชตลอดจนการจัดตั้งกลไกการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
(1.5) สงเสริมเศรษฐกิจและการสรางงานที่สอดคลองกับศักยภาพ โอกาส
และความตองการของประชาชนในพื้นที่ เพื่อใหเปนฐานเศรษฐกิจใหมของพื้นที่