Page 130 -
P. 130
ี่
์
ตารางที่ 4-1 สรุปผลการสัมภาษณผู้ทเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมปาล์มน้ำมัน (ต่อ)
ผู้ให้สัม าษณ ์ ปัญหาและอุปสรรคของอุตสาหกรรม ปัญหาและอุปสรรคของการวิจัย แนวทางการวิจัย ข้อเสนอแนะ
3. นักเศรษฐศาสตร์ 1. ขาดการบริหารจัดการคุณภาพของ 1. งานวิจัยที่เคยทำมาในอดีตไม่ตอบ 1. วิจัยด้านนโยบายเพื่อกำหนดทิศ 1. นโยบายของการทำวิจัยด้านปาล์ม
การเกษตร ปาล์มน้ำมันก่อนส่งเข้าโรงงานสกัด โจทย์อุตสาหกรรม ทางการพัฒนางานวิจัยปาล์มน้ำมัน น้ำมันต้องมีความชัดเจน โดยมี
้
2. การลงทุนในการสร้างนวัตกรรมไม่ 2. ภาครัฐสนับสนุนงานวิจัยด้านตนน้ำ ของประเทศไทย หน่วยงานกำกับดูแล/ผู้เชี่ยวชาญ
คุ้มค่า เนื่องจากเกษตรกรไม่สนใจที่ ค่อนข้างมาก แต่ไม่เกดการใช้งาน 2. กระบวนการบริหารจัดการสวน แยกเฉพาะ
ิ
จะใช้งาน 3. นโยบายด้านการวิจัยปาล์มน้ำมันไม่ ปาล์มที่มีความแม่นยำสูง (Smart 2. ควรเน้นงานวิจัยด้านนโยบายเพื่อ
3. เกษตรกรรายย่อยไม่มีการบริหาร ชัดเจน Farmer) กำหนดเป็นทิศทางงานวิจัยปาล์ม
จัดการสวนปาล์มที่มีประสิทธิภาพ 4. หน่วยงานให้ทุนมีความอ่อนแอเชิง 3. โรคอุบัติใหม่ของปาล์มน้ำมัน ของประเทศ
ทำให้ส่งผลกระทบถึงกลางน้ำ นโยบายและการกำกับ 4. ศึกษาวิธีการบริหารจัดการ 3. การกำหนดโจทย์การวิจัยควรมา
ิ
4. การแพร่กระจายของเชื้อรากาโน 5. หน่วยงานให้ทุนยึดตดกับตวสถาบัน ทรัพยากรและสภาพภูมิอากาศที่ จากการรับฟังปัญหาของ
ั
เดอร์มา (Ganoderma boninense) และนักวิจัย เหมาะสำหรับสวนปาล์มน้ำมัน ภาคเอกชน เพื่อให้สามารถนำ
ทำให้เกิดโรคลำต้นเน่า 6. ภาคเอกชนไม่มั่นใจในผลลัพธ์ของ 5. พัฒนาเครื่องมือเก็บเกี่ยวที่ง่ายต่อ ผลงานวิจัยมาขยายผลในเชิง
5. ปัญหาด้านการขนส่งในพื้นที่ภาคใต้ การวิจัย จึงไม่ร่วมลงทุนวิจัย เกษตรกรในการใช้งาน เพื่อลดการ พาณิชย์ได ้ โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ด้านการเกษตร เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องจากไม่มีความพร้อมของ 7. การให้งบประมาณไม่เหมาะสม ทำ ใช้แรงงาน 4. ภาครัฐควรผลักดันหรือสนับสนุนให้
โครงสร้างพื้นฐานและระบบ ให้งานวิจัยไม่สามารถแก้ไขปัญหา 6. การลดการใช้สารเคมี (เลียนแบบ สถาบันวิจัยปาล์มทำงานร่วมกับ 108
โลจิสติกส์เพียงพอ ใหญ่ ๆ ได ้ ธรรมชาติ) ป้องกันการระบาดของ มหาวิทยาลัยเพื่อให้มีผลงานออกสู่
6. เครื่องจักรอุปกรณ์จากต่างประเทศ 8. ไม่มีศูนย์การวิจัยที่เกี่ยวกับปาล์ม แมลงศัตรูพืช สาธารณะมากขึ้น
ไม่เหมาะกับสวนปาล์มของไทย โดยเฉพาะที่มีเครื่องมือประจำ จึง 7. การนำของเสียหรือของเหลือทิ้ง 5. การเก็บรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้
7. นโยบายด้านปาล์มไม่ชัดเจน ต้องพึ่งพาหน่วยงานอื่น หรือ จากกระบวนการผลิต (Waste) มา เรื่องปาล์มควรมีการบูรณาการ
8. ขาดหนวยงานในการกำกับดูแลด้าน ประยุกต์ใช้เครื่องมือต่าง ๆ ใช้ใหม่ (Recycle) ร่วมกันระหว่างหลายหน่วยงาน
่
ปาล์มน้ำมันโดยเฉพาะ 9. ขาดนักวิจัยหรือผู้เชี่ยวชาญด้าน 8. ศึกษาการปรับปรุงการใช้พลังงาน 6. ภาครัฐไม่ควรทำงานวิจัยเผยแพร่
นวัตกรรม ในโรงงานสกัดขนาดเล็ก (Public Research) ที่เอกชนทำได ้
ดีกว่า ก้าวหน้ากว่า